Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง : โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic Heart Disease), …
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง : โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic Heart Disease)
ความหมาย
เป็นความผิดปกติของลิ้นหัวใจ ซึ่งเกิดจากกระบวนการอักเสบของกล้ามเนื้อเยื่อหุ้มและหัวใจจากเป็นไข้รูมาติค นำมาก่อนภาวะการอักเสบนี้ จะส่งผลให้เกิดการเสียหน้าที่ของลิ้นหัวใจไปในระยะหลัง คือ โรคลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว ตีบ หรือ Aortic regurgitation ซึ่งต่อมาอาจทำให้เกิดหัวใจวายและลิ้นหัวใจผิดปกติอย่างถาวร สาเหตุของโรคนี้มีความสัมพันธ์โดยตรงกับการติดเชื้อรูมาติคและการติดเชื้ออื่นๆ
พยาธิสภาพ
กลไกของการเกิดโรค เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน (Immunopathology) ทำให้มีการทำลายของกล้ามเนื้อหัวใจ โดยเฉพาะที่ผนัง ของ left ventricle, mitral valve, aortic valve และเยื่อหุ้มหัวใจ การอักเสบจะเป็นแบบ exudative inflammation เกิด granulomatus tissue และ fibrosis การอักเสบซ้ำๆ จะทำให้ลิ้นหัว ใจตีบหรือรั่วได้
สาเหตุ
เกิดจากกระบวนการอักเสบของกล้ามเนื้อเยื่อหุ้มและหัวใจจากเป็นไข้รูมาติค นำมาก่อนภาวะการอักเสบนี้ เป็นภาวะแทรกซ้อนของคออักเสบหรือทอนซิลอักเสบ จากเชื้อแบคทีเรียที่่มีชื่อว่า Beta hemolytic streptococcus group A
อาการและอาการแสดง
อาการทาง major criteria
2.Polyarthritis : การอักเสบของข้อ มักเป็นข้อใหญ่ๆ เช่น ศอก เข่า ข้อเท้า ลักษณะการอักเสบ คือ ปวด บวม แดง ร้อน
1.Carditis : เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด พบร้อยละ 80 พบเสียง murmur
ที่ apex จากภาวะ mitral valve ตีบหรือรั่ว, หัวใจโต, หัวใจวาย
3.ทางผิวหนัง มี 2 ลักษณะ Erythema marginatum ,Subcutaneous nodule
Chorea เป็นความผิดปกติในการเคลื่อนไหวร่วมกับมีอารมณ์แปรปรวน มีการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อโดยไม่ได้ตั้งใจร่วมกับมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง ทำให้พูดไม่ชัด
อาการทาง minor criteria
Fever (ไข้) : มักจะเป็นแบบไข้ต่ำ
Arthalgia : มีการปวดตามข้อ โดยตรวจไม่พบอาการอักเสบ คือ ปวด บวม แดง และร้อน มักเป็นตามข้อใหญ่ๆ และปวดมากกว่า 2 ข้อ
Previous Rheumatic fever or RHD (Rheumatic heart disease)
increase ESR, C-Reactive protein และ leukocytosis
Prolonged P-R interval
การป้องกัน
ป้องกันผู้ที่เป็นแล้วไม่ให้เป็นซ้ำอีก โดยควรได้รับยาป้องกันตลอดชีวิต แต่อาจจะพิจารณาหยุดยาเมื่ออายุ 25 ปี และไม่เป็นโรคนี้ซ้ำอีก เป็นเวลา 5 ปี ได้แก่ยา Penicillin, Erythromycin
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพาะเชื้อจากคอ ตรวจหา Beta hemolytic streptococcus group A
Antistreptolysin O (ASO) ในเลือดมากกว่า 320 Todd unit
ESR (Erythrocyte Sedimentation rate) เพิ่มขึ้น
C-reactive protein ให้ผลบวก
4.ภาพรังสีทรวงอก (chest x-ray) : พบเงาหัวใจโตกว่าปกติ ปอดบวมน้ำ มีน้ำในช่องเยท่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มปอด
ตรวจร่างกาย : พบอาการดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
5.คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) : P-R interval ยาวกว่าปกติ T-wave ผิดปกติ
1.การซักประวัติ
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiogram) : ช่วยวินิจฉัยการมีน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจ การรั่ว/ตีบของลิ้นหัวใจ
การรักษา
2.ให้ยาสำหรับลดการอักเสบ ให้กรณีมี Carditis และหัวใจโตมาก ไม่มี heart failure
3.ให้นอนพัก 2-6 สัปดาห์/เคลื่อนไหวไปมาในห้อง เดินบริเวณใกล้ ช่วยเหลือในการทากิจกรรมทุกอย่าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วย
ให้ยากำจัดเชื้อโรค Beta hemolytic streptococcus
4.ถ้ามี Chorea ให้ Phenobarbital, Diazepam
การพยาบาล
7.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาและวัดความเข้มข้นของออกซิเจนเป็นระยะๆ
8.ดูแลให้ได้รับยา Digitalis (Digoxin) ตามแผนการรักษา
และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
6.ใส่เสื้อผ้าที่เหมาะสม
9.ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ (Diuretics) ตรงตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
5.สังเกตและบันทึกอาการนำหรือกิจกรรมที่ทำให้เกิดภาวะขาดออกซิเจน พบมากขณะออกกำลังกาย ดูดนมหรือร้องไห้มากๆ
4.วัดและบันทึกสัญญาณชีพ การเต้นของหัวใจ สีผิว เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของเด็ก
3.คลายเสื้อผ้าให้หลวม และจัดให้อยู่ในท่าที่เหมาะสม ในเด็กภาวะขาดออกซิเจนให้นอนคว่ำ ยกก้นสูง, หายใจลำบากให้นอนศีรษะสูง และเด็กเป็นลมหมดสติให้นอนราบยกปลายเท้าสูงหรือนอนคว่ำ ยกก้นสูง
2.วางแผนปฏิบัติการพยาบาลก่อน-หลังโดยรบกวนผู้ป่วยน้อยที่สุด
1.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ไม่มีเสียงรบกวนกระตุ้นเด็ก
:star:
นางสาวชลดา ติงหวัง รหัส 621001022
:star: