Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME - Coggle Diagram
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME
ภาวะสําลักขี้เทา Mecomium aspiration syndrome (MAS)
-การสำลักเอาขี้เทาที่อยู่ในน้ำคร่ำเข่าปอดในทารกแรกเกิด
-มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกตื้นๆ และไม่สม่ำเสมอตั้งแต่อายุประมาณ 24 สัปดาห์
-มีความถี่ประมาณ 30-90 ครั้งต่อนาที
-เมื่ออายุครรภ์ประมาณ 34 สัปดาห์
-การเคลื่อนไหวของทรวงอกจะสม่ำเสมอมากขึ้น
-อัตราการเคลื่อนไหวจะมีค่าประมาณ 40-60 ครั้งต่อนาที
-การเคลื่อนไหวนี้ไม่ใช่การหายใจ
-การเคลื่อนไหวนี้จะทำให้lung fluid ของทารกมีการเคลื่อนที่ในtracheobronchial tree
-ทำให้lung fluid เคลื่อนจากถุงลมทารกสู่น้ำคร่ำได้
-ในภาวะปกติจะไม่มีน้ำคร่ำเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด
-การขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์เนื่องจากความ ผิดปกตของรกในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
-จะกระตุ้นให้ทารกในครรภ์มีการหายใจ (grasping respiration)
-ทำให้น้ำคร่ำเคลื่อนที่เข้าสู่ปอดทารกได้
ทารกที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ได้แก่
ทารกคลอดที่ครรภ์เกินกำหนด
น้ำหนักแรกคลอดต่ำ
การคลอดนานทางช่องคลอด
มารดามีความดันเลือดสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษและมารดา
มีน้ำหนักมากเกินกว่าปกติขณะตั้งครรภ์
พยาธิสรีรวิทยาของโรค
-เกิดภาวะ pneumo thorax หรือ pneumo mediastinum ได้
-ขี้เทาที่กระจายอยู่ทั่วๆไปจะทำให้เกิดภาวะปอดอักเสบ
-อากาศถูกกักอยู่ในถุงลมใต้ต่อตำแหน่งที่ถูกอุดตันทำให้บริเวณนั้นมีภาวะ hyperinflation
-อัตราการแลกเปลี่ยนก๊าซของถุงลมปอดและหลอดเลือด ฝอยเสียไป
-แต่หากการสำลักก้อนเล็กๆ และกระจายอยู่ทั่วไปอุดตัน ท่อลมเล็กๆ เป็นการอุดตันอย่างสมบูรณ์ทำให้เกิดภาวะ ball valve mechanism
-เกิดภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำลงมีคาร์บอนไดออกไซด์สูงขึ้น
-หากขี้เทามีขนาดใหญ่จะอุดตันหลอดลมใหญ่ๆ ทำให้การขาดออกซิเจนมีความรุนแรงมาก
-ทำให้เลือดเป็นกรด
-การหายใจที่เกิดขึ้น ทำให้ทารกสำลักขี้เทานี้เข้าสู่ทางเดินหายใจ
-ทำให้ขี้เทาถูกบีบออกมาอยู่ในน้ำคร่ำ
-แรงดันเลือดในปอดสูงขึ้น
-การขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอด
อาการแสดง
-ทารกที่เป็น MAS มักเป็นทารกที่คลอดครบกำหนด หรือเกินกำหนด
-มีประวัติfetal distress
-Apgar score ต่ำ
-มีขี้เทาในน้ำคร่ำ (thick mecomium stained amniotic fluid)
ความรุนแรงแบ่งเป็น 3 ระดับ
รุนแรงน้อย
-ทารกจะหายใจเร็วเพื่อเพิ่ม minute ventilation
-ทำให้ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
-ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของเลือด
-เข้าสู่ภาวะปกติ
-อาการจะหายไปภายใน 24 ชั่วโมง
รุนแรงปานกลาง
-ทารกจะมีอาการของการกดการหายใจ
-หายใจเร็ว
-ช่องซี่โครงยุบลงขณะหายใจ
-เขียวคล้ำ
-อาการจะค่อยๆ ทวีความรุนแรง
-มีความรุนแรงสูงสดภายใน 24 ชั่วโมง
-มักหายได้ภายใน 4-7 วันหากไม่มีอาการแทรกซ้อน
รุนแรงมาก
-ทารกจะมีการหายใจล้มเหลวทันทีหลังคลอด
-หรือ 2-3 ชั่วโมงหลั่งคลอดอาการของกดการหายใจชัดเจน
-ฟังเสียงปอดได้rhonchi และ crackle
-อาจมีอาการเลือดขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
-ไม่ดีขึ้นเมื่อให้ออกซิเจนเนื่องจากภาวะของแรงดันเลือด ในปอดที่สูงมาก
การรักษา
-เตรียมอุปกรณ์ในการดูดเสมหะและเครื่องมือในการใส่ท่อช่วยหายใจและอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจนให้พร้อม
-มีความเสี่ยงต่อการสำลักขี้เทาให้ใช้ลูกยางแดงดูดทาง ปากและจมูกเมื่อศีรษะทารกพ้นจากช่องคลอด
-ในรายที่มีขี้เทาที่เหนียวและปริมาณมากจะใส่ท่อช่วย หายใจและดูดขี้เทาออกทางท่อช่วยหายใจ
-หลังจากดูดออกหมดแล้วหากทารกไม่หายใจควรให้แรงดัน ผ่านทางท่อช่วยหายใจ
-หลังจากนั้นจะดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหาร โดยการดูดจาก สายยางให้อาหารผ่านทางจมูกหรือปาก