Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์
บุหรี่
ผลกระทบ
-หลอดเลือดหดรัดตัว (vasoconstriction)
-ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมาก
-ขาดออกซิเจนอย่างเรื้อรัง มารดาแท้งหรือทารกตาย
-ทารกในครรภ์มีกลุ่มอาการติดบุหรี่ (fetal tobacco syndrome)
fetal tobacco syndrome
-ทารกมีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
-น้ำหนักตัวต่ำกว่า 150-300 g.
-เกิดก่อนกำหนด
-เกิดภาวะหายใจลำบาก(respiratory distress)
-ทารกมีปากแหว่ง เพดานโหว่
-ไส้เลื่อน (inguinal hernia)
-ตาเหล่ (strabismus)
-ระดับ IQ (intelligence quota)ต่ำ
-ทารกโตขึ้นจะมีบุคลิกไม่อยู่นิ่ง (hyperactive)
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ก่อนทารกเกิด
มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดออกซิเจนและเกิดก่อนกำหนด
หลังเกิดทันที
1.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนแรกเกิดและภาวะแทรกซ้อนหลังเกิดเนื่องจากเกิดก่อนกำหนด
2.มีโอกาสเจริญเติบโตล่าช้ากว่าปกติจากการที่เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่ดี
3.มารดารู้สึกผิดและวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยของทารก
แอลกอฮอล์หรือสุรา
ผลกระทบ
1.ทารกแรกเกิดที่มีภาวะ FAS อย่างรุนแรง
2.มีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
3.มีการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อและระบบประสาทไม่ดี
4.ระดับสติปัญญา (IQ)ต่ำ
5.มีลักษณะผิดปกติของรูปหน้าอย่างชัดเจน ศีรษะเล็ก
6.เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
7.ลักษณะผิดปกติภายนอก
Fetal alcohol syndrome ; FAS
-พบได้ในช่วง 6-12 hr.แรกหลังคลอด
-ระยะ 1-3 วันแรก
-ทารกจะมีอาการสั่น นอนหลับได้น้อย ร้องไห้ตลอดเวลา
-ท้องอืด มีลักษณะคล้ายหิวนมตลอดเวลา
แนวทางการรักษา
-ให้มารดาเลิกดื่มสุราเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์
-ทารกให้ยาที่ใช้ระบบประสาทส่วนกลางให้ทำงานดีขึ้น
-ให้ยาระงับหรือป้องกันการชัก คือ Phenibarnital หรือ duazepam
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.มีอาการของการขาดแอลกอฮอล์และภาวะแทรกซ้อนภายหลังเกิด
2.มีโอกาสเกิดการเจริญเติบโตและพัฒนาการล่าช้า
3.มารดารู้สึกผิดและวิตกกังวลต่อภาวะสุขภาพทารกหลังเกิดและครอบครัวไม่สามารถปรับตัวได้
เฮโรอีน
ผลกระทบ
1.ทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (hypoxia)
2.ทารกเกิดก่อนกำหนด เนื่องจากมีการติดเชื้อร่วมกับการเกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
3.ความพิการแต่กำเนิด อาจเกิดจากการติดเชื้อ
4.ภาวะตับอักเสบ
5.ซิฟิลิสแต่กำเนิด
6.การเจริญเติบโตล่าช้า เกิดภาวะ IUGR,SGA
อาการและอาการแสดง
-ภายใน 24-48 hr.
-มีอาการทางระบบประสาท
-มีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
-กระสับกระส่าย พักผ่อนไม่ได้ นอนหลับยาก
-แขนขาสั่นหรือสั่นทั้งตัว moro reflex ไม่ดี
-ร้องเสียงแหลมและร้องกวนผิดปกติ
-กล้ามเนื้อมีอาการเกร็งมากขึ้น
-หาวและจามบ่อยครั้ง
-อาการหิวตลอดเวลา แต่ดูดได้ไม่ดี
-มีเหงื่ออก ตัวเย็น
-ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นไวกว่าปกติ
-ชัก หมดสติและตาย
-อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องเสีย ไม่ยอมดูดนม ขย้อนได้ง่าย ดูดนมมากเกินไป กล้ามเนื้อหน้าท้องมีอาการเกร็ง มีภาวะขาดน้ำ ท้องอืด
อาการทางระบบอื่นๆที่พบ
-มีอาการหายใจเร็วกว่าปกติ หัวใจเต้นเร็วเกิดภาวะ respiratory acidosis ได้
-อาการทางผิวหนังที่พบบ่อยๆคือมีรอบข่วนที่หน้า มีแผลบริเวณที่ก้น ซีด ตัวลาย (mottling)
แนวทางการรักษา
ให้ยา
ยานอนหลับ เช่น Morphine sulfate,methadone
ยากล่อมประสาท เช่น diazepam หรือ valium หรือ Phenobarbital
ใช้เป็นเกณฑ์ที่ Finnegan เป็นผู้คิดขึ้นประเมินความรุนแรงของภาวะถอนยา
-ให้คะแนนจากลักษณะอาการและอาการแสดงของทารกตั้งแต่แรกเกิด
-โดยประเมินทุก 1 ชั่วโมงตลอด 24 ชั่วโมง
-อาการดีขึ้นประเมินทุก 12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง ตามลำดับ
-ประเมินได้ 7 คะแนนหรือต่ำกว่า ห้ามให้ยากล่อมประสาท
-ประเมินได้ 8 คะแนนขุึ้นไปให้การรักษาโดยให้ยาร่วมกับการรักษาทั่วๆไป
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการของการถอนยาเฮโรอีน
2.เสียสมดุลของน้ำและอิเล็คโตรไลท์ น้ำตาลในเลือดต่ำเนื่องจากดูดนมได้ไม่ดี มีอาการท้องเสียและอาเจียน
3.สมองขาดออกซิเจน เนื่องจากระบบประสาทถูกกดและจากภาวะชัก
4.เกิดแผลถลอกหรือแผลลึกบริเวณจมูก เข่า ข้อศอก ศีรษะ
5.มีโอกาสเกิดสัมพันธระหว่างมารดา ทารกไม่ดี เนื่องจากทารกมีอาการของการถอนยาเฮโรอีนและต้องถูกแยกจากมารดาตั้งแต่แรกเกิด