Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 กฎหมายพาณิชย์นาวี กฎหมายทะเล และอนุสัญญา - Coggle Diagram
บทที่ 8
กฎหมายพาณิชย์นาวี กฎหมายทะเล และอนุสัญญา
กฎหมายพาณิชย์นาวี และกฎหมายทะเล
กฎหมายพาณิชย์นาวี
กฎหมายที่กำหนดถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนในเรื่องสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการค้าและการเดินเรือ เช่น การขนส่งของทางทะเล การเช่าเรือ การจำนองเรือ การประกันภัยทางทะเล เรือโตนกัน เป็นต้น
กฎหมายพาณิชย์นาวีภาคเอกชนและกฎหมายพาณิชย์นาวีภาคมหาชน
กฎหมายพาณิชย์นาวีภาคเอกชน จะกำหนดถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
ในเรื่องสิทธิ หน้ที่ และดวามรับผิดของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการค้และการเดินเรือ
กฎหมายพาณิชย์นาวีภาคมหาชน จะกำหนดถึงตวามสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชน ที่
รัฐกำหนดให้เอกชนต้องปฏิบัติตาม
อาณาเขตทางทะเล
น่านน้ำภายใน
น่านน้ำภายใน หมายถึง น่านน้ำที่อยู่ภายในเส้นฐาน ซึ่งเป็นเส้นที่ใช้วัดความกว้าง
ของทะเลอาณาเขต เช่น ลำคลอง แม่น้ำ ปากแม่น้ำ ทะเลสาบ และอ่าว เป็นต้น
ทะเลอาณาเชต
ทะเลอาณาเขต มีความว้างไม่กิน 12 ไมส์ทะเล โดยวัดจากส้นฐาน ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ด.. 19:2 โดยรัฐชายฝั่งมีอำนาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขตของตน
เขตต่อเนื่อง
เขตต่อเนื่อง เป็นอาณาเขตทางทะเลที่มีความกว้างไม่เกิน 24 ไมล์ทะเล
เขตเศรษฐกิจจำเพาะ
เขอเศรษฐกิจจำเพาะ มีความกว้างไม่เกิน 200 ไมล็ทะเล โดยวัตจากเส้นฐาน ซึ่งใช้
วัดความกว้างของทะเลอาณาเขต (อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล 9.ศ. 1982)
ไหล่ทวีป
ไหล่ทวีป โดยทั่วไปมีความกว้างสูงสุดไม่เกิน 200 ไมส์ทะเล เว้นแต่สภาพทาง
ภูมิศาสตร์ในบางประเทศที่อาจขยายได้ถึง 35 ไมส์ทะเล
ทะเลหลวง
6 ทะเลหลวง หมายถึง ส่วนของทะเลที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ งเขตเศรษฐกิจจำเพาะ
ทะเลอาณาเขต หรือน่า เน้ำภายในของรัฐชายฝั่ง
กฎหมายทะเล
กฎหมายทะเลเป็นกฎหมายเก่าแก่ ใช้กันมาตั้งแต่สมัยที่มนุษย์เริ่มรู้จักใช้ทะเลเป็นทางสัญจรไปมา ติดต่อค้าขายระหว่างทวีป ระหว่างเกาะต่าง ๆ ในท้องทะเลลึก กฎหมายทะเลเป็นหลักเป็นฐานมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรโรดส์ นับเป็นก่อนตริสตศักราช ประมาณ ๑00 ปี หรือราว35 ปีก่อนพุทธกาล กฎหมายทะเลได้พัฒนามาตามกาลเวลา และได้ใช้กันเป็นหลักสากลทั่วโลทที่มาของเรื่องการเกิดกฎหมายทะเลก็คือ "เรือ" ซึ่งสามารถตินทางไปได้ทั่วโลก บรรทุกสินด้าไปได้มากๆและเดินทางไปไต้ทุกที่ที่มีทะเลติตต่อถึงกัน นอกจากนั้นจะกล่าวถึงสิทธิต่งๆ ด้วย กฎหมาย
บุริมสิทธิทางทะเล ตดีแฟงธรรมดานั้นหนี้สินต่งๆ ต้องไปอาจากตัวบุคคลผู้เป็นลูกหนี้ แต่สำหรับ "เรือ" ตามาฎหมายทะเล เจ้าหนี้เขาคิดเอาจากตัวเรือนั้นเองได้ด้วย ลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ หนี้สินที่เรือไปทำไว้นี้จะติดไปกับเรือโตยตลอตเป็นหนักปักหลัง ใดร
จะเป็นเจ้าของเรือไม่สำคัญ หนี้สินที่เรือไปทำขึ้นนี้ก็อาจเกิดขี้นได้ในลักษณะต่างๆ กัน
เรืออับปางและการช่วยในเรือ ตำว่าเรืออับปางนี้ ขอได้รวมดว วามหมายถึงสิ่งอื่นๆด้วย ดือ สินตัที่ถูกโยนทั้งทนล และไปพบในกายหลัง ชากที่ถูกทิ้งได้พบตามฝั่งในทะเลเรียกว่าJet sam สินค้าหรือสิ่งของที่ลอยออกไปจากที่รือจมแล้ว เรียกว่า Foat sam และของหรือสินค้า
เกี่ยวกับเรืออับปาง
ถ้าผู้มีสิทธิผู้เรียกร้องจะต้องรับภาระออกค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือนำซากเรือนั้นมารวมทั้งคำรรมเนียมค่าใช้จ่ายในการที่จะทำงานต่อไป กรณีนี้ซากเรือของต่างประเทศและเจ้าของเรือไม่อยู่กงสุลเรือชาตินั้นๆ มีอำนาจที่จะเป็นตัวแทนตุ้มครอง
การเดลื่อนย้ายซาก
อำนาจในการเดลื่อนย้ายซากเรื่อ เป็นอำนาจของเจ้าพนักงานท่าเรือ หรือเจ้าพนักงานรักษทรัพย์ ณ บริเวณนั้นหรือใกล้เคียง ถ้าไม่มีเจ้าหน้าที่ดังกล่าวทั้งสองมอบให้เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ประภาคารในบริเวณนั้น พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการขายทรัพย์สมบัติ ไช้จ่ายต่อการ
กฏหมายพาณิชย์นาวีเกี่ยวซ้องกับกฎหมายต่างๆ
กฎหมายปกครอง
กฎหมายปกครอง "ฎหมายพาณิชย์นาวีที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายปกครอง เช่น พ.ร.บ.การเดินเรือในผ่นน้ำไทย พศ. 2456 และ พรบ. เรือไทย พ.ศ. 2481 เป็นต้น กฎหมายพาณิชย์-นาวีเกี่ยวข้องกับกฎหมายปกครองในลักษณะที่ฎหมายฉบับนั้นให้อำนาจแกรัฐในการควบคุมดูแลตรวจสอบเรือ การเตินเรือ การให้บริการต่างๆ การเก็บภาษี และการส่งเสริมกิจการพาณิชย์น่าวีของประเทศไทย เป็นต้น
กฎหมายอาญา
กฎหมายอาญา กฎหมายพาณิชย์นาวีมีบทลงโทษในทางอาญาหากปรากฏว่ามีการฝ่าฝืนกฏเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ เช่น กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับเส้นทางเดินเรือ หน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการเดินเรือ การควบคุมเรือไทย การขออนุณาต เข้าหรือออกจากทำาเรือ การถ่ายน้ำทิ้งหลังจากล้างแท็งก์น้ำมัน เป็นต้น
3.กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายการด้าระหว่างประเทศ ได้แก่ กฎหมายพาณิชย์-นาวีของไทย อนุสัญญา และช้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการพาณิชย์นาวี
กฎหมายพาณิชย์นาวีของไทยในปัจจุบัน
1.1 พ.รบ.การเดินเรือในน่นน้ำไทย พ.ศ. 2456
1.2 พ.ร.บ. เรือไทย พ.ศ. 2481
1.3 พ.ร.บ. การท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494
1.4 พ.ร.บ. ส่งเสริมการพาณิชย์นาวี พ.ศ. 2521
1.5 พ.ร.บ. ป้องกันเรือโดนกัน พ.ศ. 2522
1.6 พ.ร.บ. การกักเรือ พ.ศ. 2534
1.7 พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
1.8 พ.ร.บ. การจำนองเรือและบุริมสิทธิทางทะเล พ.ศ.2537
1.9 พ.ร.บ. สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ.2537
. อนุสัญญา
อนุสัญญาที่ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีแล้ว 12 อนุสัญญาฯ
อนุสัญญาระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคีแล้ว
1.1 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยองค์ก็รทางทะเลระหว่างประเทศ ค.ศ.1948และที่แก้ไข ปี ค.ศ.1991
1.2 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ.1974
1.3 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยแนวน้ำหนักบรรทุก ค.ศ.1966 (LL1966)
1.4 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการวัดขนาดตันเรือ ค.ศ.1969 (Tonnage 1969)
1.5 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎข้อบังคับระหว่างประเทศเพื่อป้องกันเรือ
1.6 อนุสัญญาระหวางประเทศว่าด้วยการฝึกอบรม การออกประกาศนิยบัตรและการปฏิบัติหน้าที่ของคนประจำเรือ ค.ศ. 1978 และที่แก้ไขปี ค.ศ.1995 (STCW 78/95)
1.7 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยอำนวยความสะดวกในการเดินเรือระหว่างประเทศ
1.8 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยองค์กรดาวเทียมทางทะเลระหว่างประเทศ
1.9 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ ค.ศ. 1948
อนุสัญญาที่อยู่ในระหว่างดำเนินการเข้าเป็นภาคื 3 อนุสัญญาฯ
2.1 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ ค.ศ. 1973 และพิธี
2.2 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความรับผิดทางแพ่งสำหรับความเสียหายอันกิดจากมลพิษของน้ำมัน ค.ศ. 1969
2.3 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดตั้งกองทุนระหว่างประเทศเพื่อชดใช้ความเสียหายอันเนื่องมาจากมลพิษของน้ำมัน ค.ศ. 1971
อนุสัญญาและพิธีสารที่มีผลใช้บังคับแล้วแต่ประเทศไทยยังไม่ได้เข้าเป็นภาคี 19
3.1 พิธีสาร ด.ศ. 1978 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่ง
3.2 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการเข้าไปดำเนินการในทะเลหลวงกรณีที่มี
3.3 พิธีสาร ด.ศ. 1973 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการเข้าไปดำเนินการ
3.4 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความรับผิดทางแพ่ง ในเรื่องเกี่ยวกับการขนส่ง
3.5 พิธีสาร ด.ศ. 1976 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความรับผิดทางแพ่ง
3.6 พิธีสาร ค.ศ. 1992 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความรับผิดทางแพ่ง
3.7 พิธีสาร ค.ศ. 1976 ของอนุสัญญาว่าด้วยการจัดตั้งกองทุนระหว่างประเทศ
อนุสัญญาและพิธีสารที่ยังไม่มีผลใช้บังคับ 10 อนุสัญญาฯ
4.1 พิธีสาร ค.ศ. 1988 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิต
4.2 พิธีสาร ค.ศ. 1988 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยแนวน้ำบรรทุก
1.3 พิธีสาร ค.ศ. 1990 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการขนส่งผู้โดยสารและสัมภาระทางทะเล
4.4 พิธีสาร ค.ศ. 1996 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจำกัดความรับผิดในคดีเรือ
4.5 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยของเรือประมง กระทำ ณ เมือง
ทอริโมลินอส ค.ศ. 1977
4.6 พิธีสาร ค.ศ. 1993 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยของเรือประมง
4.7 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานการฝึกอบรม การออกประกาศนียบัตรและการเข้ายามของคนประจำเรือประมง ค.ศ. 1995
4.8 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความรับผิดชอบทางแพ่งเพื่อชดใช้ค่าเสียหายจาก
การขนส่งวัตถุที่มีพิษและที่เป็นอันตรายทางทะเล ค.ศ. 1996
4.9 พิธีสาร ค.ศ. 1997 ของอนุสัญญา MARPOL
4.10 พิธีสาร ค.ศ. 1996 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น