Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เรื่อง สื่อโฆษณากับสุขภาพ, นางสาวปัญญดา ปิติ เลขที่ 28 นางสาวพิมพ์พิชชา…
เรื่อง สื่อโฆษณากับสุขภาพ
5.อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ
การรับสื่อโฆษณามีผลต่อสุขภาพ ดังนี้
ด้านสุขภาพทางกาย
การหลงเชื่อคำโฆษณาและซื้อสินค้าที่ไม่มีคุณภาพมาใช้ ทำให้เกิดผลเสียต่อร่างกายได้
ด้านสุขภาพทางจิต
ถ้าเราเลือกซื้อสินค้าที่ดี มีคุณภาพก็ทำให้เกิดความพอใจ แต่ถ้าซื้อสินค้าที่ไม่มีคุณภาพก็ทำให้ไม่พึงพอใจ เสียความรู้สึก และยังทำให้เกิดคววามเครียด วิตกกังวลอีกด้วย
ด้านสุขภาพทางสังคม
โฆษณาสินค้าที่มีคุณประโยชน์ที่ไม่ดีทำให้เกิดโรคต่างๆได้ง่ายทำให้มีคนจำนวนมากที่หันไปใช้ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้เป็นปัญหาสาธารณะสุขของบุคคลในสังคม
ด้านสุขภาพทางปัญญา
การตัดสินใจในการซื้อสินค้าและบริการโดยใช้ทางจิตวิทยามากกว่าทางสติปัญญาทำให้ขาดการตัดสินใจเลือกสินค้าตามใหลักเศรษฐกิจพอเพียง
6.หลักการพิจารณาสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ
หลักพิจารณาดังนี้
ฝึกแยกแยะสื่อทางบวกและทางลบ
สื่อทางบวก
คือ สื่อที่มีการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาความคิดเชิงสร้างสรรค์
สื่อทางลบ
คือ สื่อที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ทำให้มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง
คำนึงถึงความเป็นจริง
พิจารณาด้วยเหตุและผล ความเป็นไปได้โดยพื้นฐานความจริงและเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ ไม่หลงเชื่อโฆษณาที่มีข้อความเกินจริง
มีความไวในการรรับสื่อ
รับรู้ข่าวสารทันต่อเหตุการณ์ในประเทศแและต่างประเทศ ไม่หลงเชื่อโฆษณาทางลบ
ไม่หลงเชื่อง่าย
พิจารณาและตรวจสอบข้อมูลจากหลายแหล่งที่น่าเชื่อถือแล้วจึงตัดสินใจซื้อ
บทบาทผู้ที่เกี่ยวข้อง
กับสื่อโฆษณา
เด็กและเยาวชน
ควรเรียนรู้การเลือกรับสื่อสื่อโฆษณา
อย่างมีเหตุผล
พ่อแม่ ผู้ปกครอง
อบรมสั่งสอน ให้คำแนะนำในการเลือกรับสื่อโฆษณาและเป็นแบบอย่างที่ดี
โรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ
ควรมีการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับการเลือกรับสื่อท่ี่เหมาะสม
ช่องทางสื่อ
ควรมีการกลั่นกรองสื่อเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง
ผู้ผลิตสื่อโฆษณา
ผลิตสื่อที่สร้างสรรค์และหยุดโฆษณาที่เกินจริง มีจรรยาบรรณที่ดี มีความจริงใจให้ข้อมูลที่เป็นจริง
7.การควบคุมโฆษณาโดยรัฐ
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติอาหาร
ไม่โฆษณาสรรพคุณหรือประโยชน์ของหารที่เป็นเท็จ หรือหลอกลวง
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติยา
ไม่อวด ไม่กล่าวเท็จในสรรพคุณยา ต้องไม่มีการยกย่อสรรพคุณโดยผู้อื่น
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง
ไม่โฆษณาที่ไม่เป็นธรรม ต้องไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในแหล่งกำเนิด สภาพ ปริมาร ไม่ใช้ข้อความเท็จที่ทำให้เข้าใจผิด
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ห้ามโฆษณาเพื่อการค้าที่มีฤทธิ์ต่อจิตและระบบประสาทยกเว้นในทางการแพทย์
การโฆณาตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
โฆษณาได้เฉพาะสารเสพติดให้โทษประเภท 3 โดยต้องตรงต่อทางการแพทย์ หรือเอกสารกำกับภาชนะบรรจุสารเสพติดให้โทษประเภท 3และ4
1.ความหมายของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ
สื่อ
หมายถึง ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร หรือสิ่งที่เป็นตัวกลางระหว่างเเหล่งกำเนิดสารไปถึงผู้รับสาร
การโฆษณา
หมายถึง การเผยเเพร่ข้อความออกไปยังสาธารณะ เพื่อประโยชน์ในทางการค้า
สื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ
หมายถึง สื่อที่มีการเผยเเพร่ข้อมูลข่าวสารของสินค้าหรือบริการต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพโดยผ่านช่องทางสื่อต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริโภครับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพเเละจูงใจให้ผู้บริโภคซื้อหรือใช้สินค้าหรือบริการนั้น
2.ความสำคัญของสื่อโฆษณา
ผูับริโภคส่วนใหญ่มักจะหาข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าผ่านสื่อโฆษณาหลายรูปเเบบจึงทำให้สื่อโฆษณานั้นมีความสำคัญใการตัดสินใจในการซื้อสินค้าเเละผลิตภัณฑ์นั้นๆ
ผู้บริโภคควรพิจารณาสื่อโฆษณาให้ละเอียด รอบคอบว่ามีการให้ข้อมูลที่เป็นจริงมากน้อยเพียงใด น่าเชื่อถือหรือไม่
หากพิจารณาไตร่ตรองโฆษณาอย่างละเอียดรอบคอบ
จะทำให้ได้รับสินค้า ผลิตภัฑณ์หรือบริการที่สมประโยชน์ สมเหตุสมผลเเละไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายเเละจิตใจ
หากพิจารณาไม่รอบคอบ เชื่อถือข้อความบนสื่อชวนเชื่อเกินจริงอาจจะทำให้เราได้รับสินค้า ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ไม่สมประโยชน์ เเละอาจจะเสียหายหรือมีอันตรายต่อร่างกายเเละจิตใจของผู้บริโภคได้
3ประเภทของสื่อโฆษณา
1.สื่อสิ่งพิมพ์
: วารสาร นิตยาสาร เเผ่นพับ
เเละโปสเตอร์
2.สื่อสารมวลชน
: หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์
3.สื่อบุคคล
: ครู เเพทย์ พยาบาล นักเรียน ดาราเเละผู้ที่มีชื่อเสียงในสังคม เป็นต้น
4.สื่ออินเทอร์เน็ต
: เฟซบุ๊ก เกมออนไลน์ เเละเว็บไซต์ต่างๆ
5.สื่อกิจกรรม
: การเเถลงข่าว
การพาสื่อมวลชนเยี่ยมชมโรงงาน เป็นต้น
6.สื่ออื่นๆ
: สื่อวิดิทัศน์ สื่อซีดีเเนะนำสินค้า สื่อป้ายโฆษณา สื่อโฆษณาเคลื่อนที่ เป็นต้น
4.ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของบุคคลทั่วไป
1.อาหาร
หมายถึง วัตถุทุกชนิดที่คนกิน อมหรือนำเข้าสู่ร่างกายรวมถึงเครื่องปรุง ยกเว้นยา
2.เครื่องสำอาง
หมายถึง วัตถุที่มุ่งสำหรับทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ เพื่อทำให้ร่างกายสะอาด ความสวยวามหรือเสริมความสวยงาม
3.ยา
หมายถึง วัตถุที่มุ่งหมายใช้สำหรับ
การบำบัด รักษา บรรเทา ป้องกันโรค หรือ
ความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
4.เครื่องมือเเพทย์
พิจารณาได้ 2 ประเด็นหลัก
4.1.พิจารณาจากตัวผลิตภัณฑ์นั้นโดยตรง
โดยพิจารณาจากสภาพของตัวผลิตภัณฑ์ว่าโดยตัวของมันเองเป็นเครื่องมือเเพทย์อยู่เเล้ว
4.2.พิจารณาจากการอ้างหรือระบุสรรพคุณ คุณประโยชน์
การพิจารณาเเบบนี้นั้นเเสดงว่าตัวผลิตภัณฑ์โดยสภาพบ่งบอก
ไม่เเน่ชัด เเต่มีการอ้างสรรพคุณที่ช่วยใการบำบัด รักษาเเละบรรเทา เช่น เก้าอี้นวด เป็นต้น
5วัตถุอันตราย
5.1.ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด
5.2.ผลิตภัณฑ์กาว
5.3.ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื่อโรคในสระว่ายน้ำ
5.4.ผลิตภัณฑ์กำจัดเเมลงพืช ที่ใช้ในบ้านเรือน
5.5.ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรค
6.วัตถุเสพติด
หมายถึง สิ่งที่จัดเป็นวัตุเสพติด
ตามกฎหมายมี 3 ประเภท
1.สารเสพติดให้โทษ
2.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตใจเเละประสาท
3.สารระเหย
นางสาวปัญญดา ปิติ เลขที่ 28
นางสาวพิมพ์พิชชา มณีอินทร์ เลขที่ 32
ชั้น ม.4/9