Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2
พฤติกรรมทางการศึกษา
การจำแนกพฤติกรรมทางการศึกษา
บลูมและคณะ
( Benjamin S. Bloom and Other,1971)
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
( Cognitive Domain )
ความรู้ ( Knowledge )
3 more items...
ความเข้าใจ ( Comprehension )
3 more items...
การนำไปใช้ ( Application )
1 more item...
การวิเคราะห์ ( Analysis )
เช่น
1 more item...
3 more items...
การสังเคราะห์ ( Synthesis )
3 more items...
เช่น
1 more item...
การประเมินค่า ( Evaluation )
2 more items...
เช่น
1 more item...
พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
( Affective Domain )
ขั้นเห็นคุณค่าหรือสร้างค่านิยม
บุคคลจะเกิดความรู้สึกในคุณค่าของสิ่งนั้น
ขั้นจัดระบบค่านิยม
เกิดการจัดระบบค่านิยม โดยการจัดลำดับความสำคัญของค่านิยมและความสัมพันธ์
เชื่อมโยงค่านิยมที่เกี่ยวข้องกันกลายเป็นคติหรือแนวทางการประพฤติปฏิบัติ
ขั้นตอบสนอง
บุคคลจะมีพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม
มีการพัฒนาบุคลิกภาพหรือลักษณะนิสัยของบุคคลให้เป็นรูปแบบที่ชัดเจน
ขั้นรับรู้
บุคคลจะรับรู้สิ่งเร้า
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
( Psychomotor Domain )
การตอบสนองตามแนวชี้แนะ
กระทำหรือปฏิบัติงานที่ซับซ้อนได้
การดัดแปลง
บุคคลต้องแก้ไขบ่อย ๆ ก็จะพัฒนาการวิธีการเดิมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
การเตรียมความพร้อม
เตรียมตัวกระทำหรือการปรับตัวให้อยู่ในสภาพพร้อมที่กระทำ
การริเริ่ม
บุคคลสามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ด้วยวิธีการใหม่ที่ตนคิดค้นขึ้นมา
การรับรู้
รับสัมผัสสิ่งเร้าผ่านทาง หู ตา จมูก ลิ้น ผิวกาย
คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์
จุดหมาย
มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกกำลังกาย
มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และทักษะชีวิต
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
สมรรถนะสำคัญของนักเรียน
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ความสามารถในการสื่อสาร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง
มีวินัย
มุ่งมั่นในการทำงาน
ซื่อสัตย์สุจริต
รักความเป็นไทย
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
มีจิตสาธารณะ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
คณิตศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมนักเรียน
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมแนะแนว
มีการจัดกลุ่มพฤติกรรมใหม่แต่ก็ยังจัดเป็น 3 กลุ่ม และยังยึดถือแนวทางของบลูม
กลุ่มพฤติกรรมด้านเจตคติ ( Attitude : A )
กลุ่มพฤติกรรมด้านกระบวนการเรียน ( Process : P )
กลุ่มพฤติกรรมด้านความรู้ ( Knowledge : K )