Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ
สรีรวิทยาของการหายใจ
โครงสร้างและหน้าที่
Airways and Airflow
แบ่งเป็น 23 Generation
Gen ที่ 17 เริ่มมีถุงลม ,เริ่มมีการแลกเปลี่ยน gas
Blood vessels and Flow
Stability of Alveoli
Removal of inhaled particles
Blood-Gas Interface
พื้นที่ผิวของ aleolar wall ทั้งหมด 85 ตารางเมตร
ความจุ 2 ลิตร
500,000,000 alveoli
ถึงแม้จะมีขนาดเล็ก แต่มีพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซมากมาย
หน้าที่ของระบบการหายใจ
แลกเปลี่ยนก๊าซ
นำออกซิเจนเข้าสู่เลือด
ขจัดคาร์บอนไดออกไซด์
หน้าที่อื่นๆ
สร้างและขจัดสารเคมีบางชนิด
การกรองสิ่งแปลกปลอม
การขนส่งออกซิเจน
Oxygen ละลายในน้ำไม่ได้ดี แต่จับกับฮีโมโกลบินได้ดี Oxygen ที่ผ่านถุงลมเข้ามาในเลือดจึงมี 2 แบบ
ละลายใน Plasma วัดได้จากการเจาะ ABG
จับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง วัดได้จากการจับ Pulse O2 Saturation
ออกซิเจนในเลือดอยู่ที่ไหนบ้าง
ละลายในส่วนที่เป็นของเหลว = 3%
จับกับฮีโมโกลบินที่มีอยู่ในเม็ดเลือด = 97%
อาการวิทยาระบบการหายใจ
อาการหายใจลำบาก
ความหมาย
ความรู้สึกหายใจได้ลำบาก
ต้องใช้ความพยายามในการหายใจ
อาการหายใจลำบากอาจจะพบในผู็ป่วยหรือบุคคลปกติได้
จะถือว่ามีความสำคัญ เมื่อเกิดขึ้นขณะพักหรือระหว่างกิจกรรมที่ไม่ต้องออกแรงมากนัก
ความแตกต่างทางภาษา
บางภาษาและวัฒนธรรมมีการใช้คำที่บ่งชี้ถึงอาการหายใจลำบากต่างกัน
สาเหตุ
2.ความผิดปกติของระบบหายใจความผิดของระบบไหลเวียนโลหิต (Effectors)
การได้รับสารพิษ (Chemoreceptors,Lung and other receptors)
1.ความผิดปกติของระบบประสาท (Central controller)
3 -> 1 ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกดหรือกระตุ้น
สาเหตุที่พบบ่อย
โรคหัวใจ
โรคปอด
โรคเลือด matabolism
อาการไอ
สาเหตุ
เป็นกลไกการตอบสนองของทางเดินหายใจ
เป็นกลไกป้องกันที่สำคัญของร่างกายในการกำจัดเชื้อโรค
ประเภทของอาการไอ
ไอแห้ง
มักพบในโรคหืด ภูมิแพ้ วัณโรคปอด ผลข้างเคียงของการทานยากลุ่ม ACE inhibitor
ไอเป็นเลือด
โรคมะเร็งของหลอดลม การติดเชื้อ โดยเฉพาะวัณโรค
ไอแบบมีเสมหะ
มักพบในโรคของหลอดลม และการติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการเขียวคล้ำ (Cyanosis)
เขียวคล้ำตามปลายมือ ปลายเท้า เยื่อบุผิว ซึ่งสังเกตจากเยื่อบุใต้หนังตา ลิ้น กระพุ้งแก้ม ริมฝีปากด้านใน
สาเหตุ
โรคของหัวใจและปอด
ทำให้ออกซิเจนจับกับฮีโมโกลบินลดลง
แบ่งได้
Central cyanosis
เกิดขึ้นเมื่อมี arterial desaturation
Peripheral cyanosis
เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ออกซิเจนในร่างกายส่วนปลายมากกว่าปกติ
อาการเจ็บอก
Cardiac
บีบรัด หนักๆ คล้ายถูกทับ
ร้าวไปแขนหรือไหล่ทั้งสองข้าง
Pleura
เจ็บแปล๊บ (Sharp pain)
เจ็บสัมพันธ์กับการหายใจ
GI tract
มักเจ็บบริเวณท้องหรือลิ้นปี่
ในกรณีกรดไหลย้อนอาการอาจทุเลาหลังลุกยืนหรือดื่มน้ำ
Chest wall
กดเข็บบริเวณผิว
อาจเห็นการอักเสบบริเวณผิวหรือข้อต่อ
ปวดแสบร้อนตามแนวเส้น ประสาท ถ้าเป็นโรคเส้นประสาท
อาการนิ้วปุ้ม (Clubbing)
เป็นผลจากการพร่องออกซิเจน
ทำให้เกิดจากการเจริญเติบโตผิดปกติของเนื้อเยื่อเล็บ
เกิดหลอดเลือดฝอยเนื้อเยื่อขยายตัวเพิ่มจำนวน
การหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (ARDS)
Atelectasis
ภาวะที่ถุงลมไม่สามารถขยายได้ปกติ ส่งผลทำให้ถุงลมปอดส่วนที่มีการแฟบ ไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซได้อย่างปกติ
Pulmonary edema
ภาวะที่ความดันใน pulmonary capillary เพิ่มขึ้นนำไปสู่การรั่วของของเหลวไปสู่ชั้น interstitium และอาจผ่านสู่ถุงลมได้
ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia)
Hypoxemia
Decrease oxygen in blood
Hypoxia
decrease Oxygen supply to tissue
สาเหตุ
Hypoventilation
การหายใจช้าหรือตื้นทำให้การระบายอากาศลดส่งผลให้ PaCO2 สูง
Decrease PlO2
เช่นการอยู่บนที่สูง
V/Q mismatch
มีการระบายอากาศหรือการไหลเวียนเลือดที่ลดลง
Diffusion Limitation
การแพร่ผ่านผนังถุงลมเสียไป
Shunt
มีพยาธิสภาพที่ส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซ
อาการแสดง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด (ความดันเปลี่ยน หัวใจเต้นไวขึ้น)
ระบบหายใจ (หายใจเร็วและแรงมากขึ้น)
Hemoglobin desaturation : cyanosis
ระบบ CNS (ปวดศีรษะ การตัดสินใจไม่ถูกต้อง กระสับกระส่าย ซึม สับสน)
Hypercapnea
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
เป็นภาวะที่ CO ในปอดและในเลือดสูงกว่าปกติ
PaCO2>45 mmHg
สาเหตุ
มีความรุนแรงที่ Deadspace เพิ่มขึ้น เช่น Severe emphysema
มีการสร้าง CO2 มากกว่าปกติ มีภาวะ Sepsis
Hypoventilation
นิยาม
ภาวะที่ปอดไม่สามารถนำออกซิเจนสู่เลือด
ไม่สามารถระบายคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดออกจากร่างกายได้
มี 4 ชนิด
Acute Hypercapnia respiratory failure
PaO2 จาก ABG < 50 mmHg
Perioperative respiratory failure
พบไม่ป่วย
Acute Hypoxexic respiratory failure
PaO2 จาก ABG < 60 mmHg
ร่วมกับ มี PaCO2 ปกติหรือต่ำ
Acute circulatory failure
พบไม่บ่อย
ในผู้ป่วยเสียเลือด,มีภาวะ Shock
COVID-19
นิยาม
เป็น RNA Virus ชนิดหนึ่ง
สามารถก่อโรคทางเดินหายใจและทางเดินอาหารได้
การติดต่อ
average 1.5-4.5 other people
ระยะติดต่อ
2-14 Day
การติดต่อ
Air bone
Direct contact
Droplets
อาการ
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ
อาจมีอาการของการติดเชื้อไวรัสหรือปอดอักเสบ
การรักษา
ส่วนใหญ่หายได้เอง
เน้นประคับประคองจนกระทั่งพ้นอาการวิกฤติ
ยาที่ใช้ในการรักษา ใช้กรณีอาการรุนแรง
Community-acquired pneumonia
นิยามศัพท์
Pneumonia
CAP
HAP
VAP
การรักษา
ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อก่อโรค
Macrolide droup
Beta-lactam group
oseltamivir
เชื้อก่อโรค
Typical bacteria
เช่น S.Pneumoniae
Atypical bacteria
Legionella app , M. Pneumoniae
Respiratory virus
เช่น Cocid, Rhinoviruses