Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ - Coggle…
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
การกำซาบของเนื้อเยื่อบกพร่อง
กิจกรรมการพยาบาล -จำแนกความเสี่ยงทารก -แรกคลอดประเมินการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ สีผิว -ประเมินคะแนนแอปการ์ -ดูแลการได้รับออกซิเจน -ดูดมูกในทางเดินหายใจ -จัดท่าทารกให้นอนศีรษะสูง ลำคอตรง -ประเมินการโป่งตึงของกระหม่อมหน้า ระดับความรู้สึก การร้องไห้ -รักษาอุณหภูมิร่างการ -บันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกร่างกาย -สังเกตอาการนำของการชัก -ให้ยาตามแผนการรักษา -ให้กำลังใจครอบครัว
การบาดเจ็บจากการคลอด -ทารกที่คลอดท่าก้น -มีขนาดตัวโต -ระยะที่สองของการคลอดยาวนาน -ได้รับการช่วยคลอดด้วยคีม -เครื่อวดูดสูญญากาศ -ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ก้อนบวมโนที่ศีรษะ
สาเหตุ จากการคั่งของของเหลว ระหว่างชั้นหนังศีรษะกับชั้นเยื่อหุ้มกระดูกกระโหลกศีรษะ ก้อนบวมข้ามรอยต่อของกระดูกกระโหลกศีรษะเกิดแรงดันกดลงบนศีรษะทารกระหว่างการคลอดท่าศีรษะทำให้มีของเหลวออกมานอกหลอดเลือดจากการใช้เครื่องสูญญากาศช่วยคลอด
การวินิจฉัย โดยการคลำศีรษะทารกแรกเกิดพบก้อนบวมในลักษณะนุ่ม กดบุ๋ม กดไม่เจ็บ เคลื่อนไหวได้ พบทันทีภายหลังคลอด
อาการและอาการแสดง -พบได้บริเวณด้านข้างของศีรษะ -ก้อนบวมนี้ทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
แนวทางการรักษา -สามารถหายได้เอง -หายภายในไม่กี่ ชม.หลังคลอด
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง
กิจกรรมการพยาบาล -ทบทวนบันทึกประวัติการคลอด การตรวจร่างการระบบประสาท -ประเมินการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่บาดเจ็บ -จัดท่าให้ถูกต้องตามกลักกายวิภาค -ใส่เสื้อผ้าและสัมผัสทารกอย่างนุ่มนวล -ให้ส่วนที่หักนิ่ง -สอนครอบครัวดูแลทารก -ประเมินอาการอัมพาตใบหน้า เพื่อดูการดูดการกลืน
ก้อนโนเลือดที่ศีรษะ
ภาวะแทรกซ้อน หากก้อนเลือดใหญ่เกิดภาวะบิลิรูบินในเลือดสูงอาจเกิดการติดเชื้อจากการดูดเลือดออกจากก้อนโนเลือด
การวินิจฉัย 1.ระยะคลอดมารดาเบ่งคลอดนาน 2.บริเวณศีรษะทารกแรกเกิดมีก้อนบวมโนมีกระดูกกระโหลกศีรษะชั้นใดชั้นหนึ่งมีลักษณะแข็งและคลำขอบได้ชัดเจน
แนวทางการรักษา -ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน ก้อนโนจะหายไปเอง -อาจใช้เวลาเป็นสัปดาห์ -ก้อนเลือดขนาดใหญ่รักษาโดยการดูดเลือดออก
อาการและอาการแสดง -จะเห็นชัดใน 24 ชม.หลังเกิด -รายที่รุนแรงอาจพบอาการแสดงทันที -พบก้อนโนเลือดีสีดำหรือน้ำเงินคล้ำ
สาเหตุ -ระยะเวลาคลอดยาวนาน ศีรษะทารกถูกกดจากช่องคลอด จากการใช้สูญญากาศช่วยคลอดเส้นเลือดฝอยบริเวณเยื่อหุ้มกระดูกกระโหลกศีรษะทารกฉีกขาดเลือดจึงซึมออกมานอกหลอดเลือดใต้ชั้นเยื่อหุ้มกระดูกศีรษะ
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้าบาดเจ็บ
การวินิจฉัย -มารดามีระยะที่สองของการคลอดยาวนาน -พบอาการและอาการแสดงของเส้นประสาทคู่ที่ 7 ได้รับบาดเจ็บ
อาการและอาการแสดง -กล้ามเนื้อใบหน้าข้างที่เส้นประสาทเป็นอัมพาตจะอ่อนแรง ไม่สามารถปิดตาได้ -ไม่สามารถเคลื่อนไหวหน้าผากข้างที่เป็นอัมพาตให้ย่นได้ -เมื่อร้องมุมปากเบี้ยว -กล้ามเนื้อจมูกแบนราบ
ภาวะแทรกซ้อน ในรายที่รุนแรงไม่สามารถปิดตาได้อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนคือ กระจกตาเป็นแผลที่ตาของทารกข้างที่กล้ามเนื้อหน้าเป็นอัมพาต
แนวทางการรักษา -จะหายได้เอง -แต่ควรหยอดน้ำตาเทียมป้องกันจอตาถูกทำลาย
สาเหตุ เกิดจากการบาดเจ็บของการคลอดโดยเฉพาะในรายที่คลอดยาก
อัมพาตที่แขน
การวินิจฉัย -มารด่มีการคลอดยาก คลอดติดไหล่ -ทารกไม่ยกแขนด้านที่เป็น ทดสอบmoro reflex ทารกจะยกแขนได้ข้างเดียว
อาการและอาการแสดง -มีภาวะ Erb-Duchenne paralysis -แขนข้างที่บาดเจ็บอ่อนแรงทั้งแขน -ต้นแขนชิดลำตัว บิดเข้าด้านใน -ไม่มีอาการผวาเมื่อตกใจ
ภาวะแทรกซ้อน กล้ามเนื้อแขนลีบ
การรักษา -ให้เริ่มทำ passive movement เมื่อเส้นประสาทยุบบวม -โดยทั่วไปจะรอจนทารกอายุ 7-10 วัน -ให้แขนอยู่นิ่ง -ให้อยู่ในท่าที่เหมาะสมให้ยึดแขนไว้ในท่าที่หัวไหล่ทำมุม 90 องศา -ในกรณีที่เป็นอัทพาตแขนส่วนล่าง ให้กำผ้านุ่นๆ
สาเหตุ
Klunmpke s paralysis ได้รับการบาดเจ็บเส้นประสาทคู่ที่ 7 และ 8 ทำให้ทารกข้อมืองอ มือบิดเข้าใน
Combined ได้รับการบาดเจ็บเส้นประสาทคู่ที่ 5 ถ้าเส้นประสาทคู่ที่ 3และ4 ร่วมด้วยทำให้มีอัมพาตกระบังลม
Erb-Duchenne paralysis ได้รับการบาดเจ็บเส้นประสาทคู่ที่ 5และ6 กล้ามเนื้อที่ได้รับการกระทบกระเทือน biceps และ brachioradialis
เลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตา
การวินิจฉัย มีเลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตาของทารกหลังคลอด
แนวทางการรักษา -สามารถหายได้เอง -ใช้เวลา 2-3 สัปดาห์
มีจุดเลือดออกที่ตาขาว เกิดจากมารดาคลอดยากศีรษะทารกถูกกด เส้นเลือดเยื่อยุตานัยน์แตก