Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด ทฤษฏี และหลักการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น - Coggle Diagram
แนวคิด ทฤษฏี และหลักการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
คุณลักษณะและบทบาทหน้าที่ของพยาบาลเด็ก
บทบาท
เป็นผู้นำทางความรู้ ความชำนาญ และจริตยธรรมในการปฏิบัติงาน
มีความเข้าใจการเจรฺญเติบโต
มีทักษะในการดูแลทั้งเด็กปกติและผู้ป่วยเด็ก
สามารถประเมินปัญหาของผู้ป่วยที่คุกคามชีวิตได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
คุณสมบัติ
นุ่มนวลและเอื้ออาทร
ช่างสังเกต มีความไวต่อพฤติกรรม
เห็นอกเห็นใจ ไวต่อความต้องการ
มีทักษะในการอธิบาย ให้เข้าใจโดยคำง่าย ๆ
อดทนต่อพฤติกรรมของเด็ก ต่อการตอบคำถาม
สิทธิเด็กและพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก
มาตรา 26 ข้อ 2 ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการจงใจ หรือละเลยไม่ให้สิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
มาตรา 27 ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาหรือเผยแพร่ทางสื่อมวลชนหรือสื่อสารสนเทศประเภทใด
มาตรา 29 แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครู หรือนายจ้าง จะต้องรายงานให้เจ้าหน้าที่ทราบมิชักช้า ที่เป็นปรากฏชัด หรือน่าสงสัยว่าเด็กจะถูกทารุรกรรม
สิทธิเด็ก
4.สิทธิในการมี ส่วนร่วม (Right of Participation)
สิทธิที่ให้ความสำคัญกับการแสดงออกทั้งทางด้านความคิดและการกกระทำของเด็ก
การเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่อาศัยอยู่
การให้เด็กได้รับบทบาทที่สำคัญในชุมชน มีส่วนร่วมกิจกรรมในสังคม
3.สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง (Right of Protection)
สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองในการเลือกปฏิบัติ การล่วงละเมิด การถูกกลั่นแกล้ง การถูกทอดทิ้ง การกระทำทารุน
รัฐจัดให้มีกองทุนคุ้มครองเด็ก และคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
2.สิทธิในการพัฒนา (Right of development)
สิทธิในการได้รับโอกาสในการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
มีสิทธิได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม ความรู้สึก
1.สิทธิการมีชีวิตอยู่รอด (Right of survival)
เด็กที่เกิดมาต้องได้รับการจดทะเบียนการเกิด
มีสิทธิได้รับการเลี้ยงดูอย่างดีที่สุดทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
สิทธิในการได้รับวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่าง ๆ
แนวคิดการพยาบาลเด็กในระยะเฉียบพลันและวิกฤต
Critical care nursing
ผู้ที่ให้การรักษาพยาบาล
ต้องมีความรู้ ทักษะแบบเชี่ยวชาญเฉพาะทางอย่างมึคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วยวิกฤต
มีบุคลากรและอุปกรณ์พร้อมใช้
เด็กป่วยที่มีภาวะวิกฤติ
ต้องการดูแลใกล้ชิด ต่อเนื่องแบบองค์รวม
Stress and coping
อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจถึงภาวะสุขภาพของเด็ก
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กป่วย
ปองกันอันตรายที่อาจเกิดจากเด็กเจ็บปวด
ประเมิณปัญหาและบันทึกรายงานข้อมูลอย่างต่อเนื่อง
ธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
ความต้องการทางด้านอารมณ์ของทารก
เด็กวัยนี้ต้องการแสดงความพอใจด้วยการส่งเสียงเล่น
ไม่ชอบเสียงดัง หรือเสียงประหลาดที่ทําให้ตกใจกลัว
ต้องการให้ตามใจ ไม่ชอบให้ขัดใจ
ด้านสังคม การให้ความรักและความอบอุ่น เลี้ยงดูอย่างเอาใจใส่
ธรรมชาติและความต้องการของเด็กวัยหัดเดิน
ร่างกาย
วัยแห่งการสํารวจ และค้นพบสิ่งใหม่
กล้ามเนื้อแข็งแรง เติบโต มัดเล็ก มัดใหญ่
สังคม
เริ่มเข้ากลุ่ม เห็นพฤติกรรมเพื่อน
การเล่นเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ทางสังคม
เรียนรู้จากครอบครัว การสัมผัส
อยากทำอะไรด้วยตนเอง
อารมณ์
อารมณ์โกรธ เรียกร้องสิ่งที่ต้องการ อาละวาด
วิตกกังวลเนื่องจากพลัดพรากจากพ่อแม่ เมื่อเริ่มเข้าอนุบาล
เมื่อมีน้องจะเรียกร้องความสนใจจากพ่อแม่
ธรรมชาติและความต้องการของเด็กวัยก่ินเรียน
ด้านร่างกาย
อัตราการเจริญเติบโตจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด
สัดส่วนของร่างกายจะได้ขนาดมากขึ้น
กล้ามเนื้อแข็งแรง เดินมั่นคง ชอบวิ่ง กระโดดห้อยโหน
จักรยาน กระโดดเชือก
อารมณ์
มีทั้งอารมณ์ก้าวร้าว หรืออารมณ์เห็นอกเห็นใจผู้อื่น
ต้องการความรัก ความเอาใจใส่ มีอารมณ์ริษยาด้วย
ตื่นเต้น ตกใจง่าย โกรธง่าย กลัวการอยู่ลําพัง
สังคม
ผู้ปกครองควรเข้าใจ และตอบคำถามอย่างเอาใจใส่ให้เหมาะสม
เริ่มพัฒนาการรู้จักใช้เหตุผล
มักเป็นเด็กช่างซัก ช่างถาม ตั้งคําถาม อยากรู้อยากเห็น
ธรรมชาติและความต้องการของเด็กวัยเรียน
ด้านสังคม
การเลี้ยงแบบประชาธิปไตย – เด็กปรับตัวได้ดี กระตือรือร้น เข้าสังคมได้ดี
การเลี้ยงแบบตามใจ – เด็กมักเฉื่อยชา ไมสนใจสิ่งใด
ชอบปลีกตัวออกจากสังคม
ด้านร่างกาย
ด้านสุขภาพอนามัย -ส่งเสริมให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5หมู่และพาไปรับวัคซีน
ด้านสุขนิสัย - กิจกรรมฝึกเด็กและดูแลให้เด็กปฏิบัติจนเป็นนิสัย
การดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์บนพื้นฐานความเอื้ออาทร
ดูแลเอาใจใส่ ทั้งด้านร่างกาน จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ
ก่อให้เกิดความสุขใจทั้งผู้ให้และผู้รับ ดดยเฉพาะในบุคคลที่เจ็บป่วย
ปฏิบัติด้วยความเป้น
มิตร
มีเมตตาธรรม
ร่วมกับการรักษาพยาบาลด้วยความรู้ความเชี่ยวชาญทาง
การแพทย์และการพยาบาล
การพยาบาลเด็กในระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
การดูแลแบบประคับประคอง
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การดูแลผู้ป่วยระยะใกล้ตายไปจนกระทั่งตายและหลังการตาย
วัยหัดเดิน
ยังมีความไม่เข้าใจเรื่องตาย
เด็กจะพูดถึงคนที่ตายไปแล้วเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
ความเข้าใจเรื่องการแยกจากยังไม่ชัดเจน
วัยก่อนเรียน
เด็กเริ่มรู้สึกถึงความเป็นไปของความตาย
เข้าใจว่าความตายเป็นสิ่งที่กลับไปกลับมาได้
เด็กมักกลัวคนจะตายมากกว่าคิดว่าตนเองตาย
วัยเรียน
เด็กเข้าใจเรื่องเวลามากขึ้น มีประสบการณ์มากขึ้น
ความตายเป็นเรื่องแยกจาก
เด็กจะมีความกลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันที่รัก
แนวคิด ทฤษฏี และหลักการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
การพยาบาลเด็ก
ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ: การป้องกัน การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล
และการฟื้นฟูสภาพ
เป็นการดูแลอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยรุ่น ดูแลแบบองค์ (พัฒนาการ และจิตวิญญาณของเด็กด้วยความเอื้ออาทร)
ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง (Family-centered care)
การเสริมอำนาจ
-รักษา/ช่วยเหลือ
ให้ความช่วยเหลือโดยเริ่มจากจุดแข็ง
การช่วยให้ครอบครัวมีความสามารถ
-เปิดโอกาสให้ครอบครัวแสดงความสามารถ
-สอนให้ความรู้
-ประเมินความรู้
การพยาบาล
สร้างความร่วมมือกันระหว่างพ่อแม่กับทีมสุขภาพ
สนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวทั้งปัญหาทางด้านอารมณ์และการเศรษฐกิจ
สนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดให้ครอบครัวมีความยืดหยุ่น
ความแตกต่างระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่
ด้านโครงสร้างร่างกาย
ศีรษะเด็กมีขนาดและน้ําหนักมากกว่าผู้ใหญ่
คลําพบรอยต่อกะโหลกศีรษะที่ยังไม่เชื่อมสนิท
กลามเนื้อหูรูดกระเพาะอาหารยังปิดไม่แน่น ทําให้สํารอก
ได้ง่าย
Eustachian tube ในเด็กสั้นและอยู่ในแนวราบ>ผู้ใหญ่
ด้านสรีรวิทยา
Immune ในเด็ก: ผ่านรกจากมารดา: มีถึงอายุ 3-6 เดือน
หลังจากนั้นภูมิคุ้มกันลดลง: ติดเชื้อง่ายและรุนแรง เสียชีวิตสูง
Cell สมองที่ควบคุมการชักในเด็กเล็กมีความไวต่อ อุณหภูมิร่างกาย ที่สูงขึ้น ทําให้เกิดชักจากไข้สูง
ด้านจิตใจและปฏิกิริยาทางอารมณ์
อารมณ์ของเด็กจะเปลี่ยนแปลงง่าย
ไม่อดทน หงุดหงิด ร้องให้
เด็กมีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เมื่อเจ็บป่วย
ด้านโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย
การขาดวิตามิน Dในเด็กเล็ก อาจทําให้
เป็นโรคความผิดปกติของกระดูก (Rickets)