Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่ มารดาติดสารเสพติดในระยะ ตั้งครรภ์,…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่
มารดาติดสารเสพติดในระยะ
ตั้งครรภ์
สารเสพติด (drug addict)
ตัวยาหรือสารบางชนิด
ที่เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย
สูบ รับประทาน ฉีด สูดดม
ระบบประสาทสมองไขสันหลัง
ปลายประสาทและกล้ามเนื้อเกิด
การคลายตัว
ลดการทำงานของสมอง
เกิดการดื้อยา
สาเหตุ
จากตัวผู้เสพเอง - อ่อนแอ
พึ่งพา เบี่ยงเบน ก้าวร้าว
สาเหตุทางจิตใจ / สาเหตุทางกาย
ประเภท
บุหรี่
สุรา
เฮโรอีน
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่
มารดาสูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์
ละอองของเหลว / ทาร์ก่อให้เกิด
โรคมะเร็งปอดและถุงลมโป่งพอง
สารระคายเคืองในหลอดลม
สารนิโคตินเข้าสู่สมองภายใน 7 นาที
ทำให้มีผลต่อระบบประสาทและ
ระบบไหลเวียนโลหิต
คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ขัดขวาง
การลำเลียงออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง
ผลของการสูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์
ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
หลอดเลือดหดรัดตัว (Vasoconstriction)
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมาก
ขาดออกซิเจนอย่างเรื้อรังมารดาแท้ง
ทารกตายทารกในครรภ์มีกลุ่มอาการ
ติดบุหรี่ (fetal tobacco Syndrome)
fetal tobacco
syndrome
ทารกมีการเจริญเติบโตช้า
มีน้ำหนักตัวต่ำกว่าปกติ 150 - 300 กรัม
เกิดก่อนกำหนด
เกิดภาวะหายใจลำบาก
ทารกมีปากแหว่งเพดานโหว่
ไส้เลื่อน (inguinal hernia)
การประเมินตามแบบ
ของ Finnegan
:check: ให้คะแนนจากลักษณะ
อาการและอาการของ
ทารกตั้งแต่แรกเกิด
:check: ประเมินทุก 1 ชั่วโมง
ตลอด 24 ชั่วโมง
:check: อาการดีขึ้นประเมินทุก 12 ชั่วโมง 6
ชั่วโมงและ 4 ชั่วโมงตามลำดับ
:check: ประเมินได้ 7 คะแนนหรือต่ำ
กว่าห้ามให้ยากล่อมประสาท
ประเมินได้ 8 คะแนนขึ้นไปให้
การรักษาโดยให้ยาร่วมกับ
การรักษาทั่วๆไป
ประเภทของยา
ที่ใช้ในการรักษา
:check: ยานอนหลับเช่น morphine sulfate
:check: ยากล่อมประสาทเช่น diazepam
หรือ valium หรือ Phenobarbital
การพยาบาลทารก
แรกเกิดที่มารดา
เสพสารเสพติดเฮโรอีน
ในระยะตั้งครรภ์
:check: ทารกแรกเกิดมีอาการ“ ถอนยา”
ถึงร้อยละ 90
:check: อัตราตายสูงถึงร้อยละ 90
:check: มีชื่อทางเคมีว่า Diacetyl Morphine
Hydrocloride
:check: เฮโรอีนมีฤทธิ์ร้ายแรงกว่า Morphine
3-8 เท่าร้ายแรงกว่าฝืน 80 เท่า
ผลจากการเสพเฮโรอีนใน
ระยะตั้งครรภ์ต่อทารกในครรภ์
:check:ทารกมีภาวะออกซิเจน
ในเลือดต่ำ (hypoxia)
:check: ทารกเกิดก่อนกำหนดเนื่องจากมี
การติดเชื้อร่วมกับการเกิดถุงน้ำคร่ำแตก
:check: ความพิการแต่กำเนิด
อาจเกิดจากการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดงของ
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะถอนยา
:check: ภายใน 24-48 ชั่วโมง
:check: มีอาการทางระบบประสาท
:check: มีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
:check: กระสับกระส่าย พักผ่อนไม่ได้
นอนหลับยาก
:check: แขนขาสั่นหรือสั่นทั้งตัว moro reflex
ไม่ดีร้องเสียงแหลม
อาการทางระบบอื่น ๆ
:check: มีอาการหายใจเร็วกว่าปกติ
หัวใจเต้นเร็วเกิด respiratory acidosis
แนวทางการรักษา
:check:ให้ยา
:check: ใช้เป็นเกณฑ์ที่ Finnegan
เป็นผู้คิดขึ้นประเมินความรุนแรง
ของภาวะถอนยา
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่
มารดาดื่มแอลกอฮอล์ใน
ระยะตั้งครรภ์
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะ FAS
อย่างรุนแรง
มีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มีการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อ
และระบบประสาทไม่ดี
ระดับสติปัญญา (IQ) ต่ำ
มีลักษณะผิดปกติของรูปหน้า
อย่างชัดเจนศีรษะเล็ก
เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
กลุ่มอาการทารกติดสุรา
(fetal alcohol syndrome = FAS)
พบได้ในช่วง 6-12 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ระยะ 1-3 วันแรกทารกจะมีอาการสั่น
นอนหลับได้น้อยร้องไห้ตลอดเวลา
ท้องอืดมีลักษณะคล้ายหิวนม
ตลอดเวลา แต่ดูดได้ไม่ดี
แนวทางการรักษา
ให้มารดาเลิกดื่มสุราเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์
ทารกให้ยาที่ใช้รักษาระบบประสาท
ส่วนกลางให้ทำงานดีขึ้น
ให้ยาระงับหรือป้องกันการชักคือ
Phenobarbital หรือ diazepam
นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 140 รหัสนักศึกษา 61120301144 ชั้นปีที่ 4