Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME, นางสาวนภัสกร ไชยมงคล เลขที่ 55…
MECONIUM ASPIRATION
SYNDROME
การสำลักเอาขี้เทาที่อยู่ในน้ำคร่ำเข้าสู่ปอด
ทารกเริ่มเคลื่อนไหวเมื่ออยุครรภ์ 24 สัปดาห์ มีความถี่ประมาณ 30-90 ครั่ง/นาที
เมื่ออายุครรภ์ 34 สัปดาห์ มีการเคลื่อนไหว 40-60 ครั้ง/นาที
การเคลื่อนไหวนี้ไม่ใช่การหายใจ
lung fluid
การเคลื่อนที่ของ tracheobronchial tree
ในภาวะปกตจะไม่มีน้ำคร่ำเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด
จะกระตุ้นให้ทารกในครรภ์มีการหายใจ
อาการแสดง
ทารกทเป็น MAS มักเป็นทารกทคลอดครบกำหนดหรือเกินกำหนด
มีประัติ fetal distress
Apgar score ต่ำ
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
ทารกที่เสี่ยง
มารดาน้ำหนักตัวเกิน
การคลอดนานทางช่องคลอด
ทารกคลอดที่ครรภ์เกินกำหนด
น้ำหนักแรกคลอดต่ำ
มารดาความดันสูงขณะตั้งครรภ์
ความรุนแรง
ความรุนแรงปานกลาง
หายใจเร็วช่องซี่โครงยบุลงขณะหายใจ
เขียวคล้ำ
มีความรุนแรงสูงสดุ ภายใน 24 ชั่วโมง
มักหายได้ภายใน 4-7 วนั หากไม่มีอาการแทรกซ้อน
ความรุนแรงมาก
ทารกจะมีการหายใจล้มเหลวทันทีหลังคลอด
หรือ2-3 ชั่วโมงหลังคลอดอาการของกดการหายใจชัดเจน
ฟังเสียงปอดได้ rhonchi และ crackle
อาจมีอาการเลือดขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ไม่ดีขึ้นเมื่อให้ออกซิเจนเนื่องจากภาวะของแรงดันเลือดในปอดที่สูงมาก
ความรุนแรงน้อย
ทารกจะหายใจเร็วเพื่อเพิ่ม minute ventilation
ทำให้ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของเลือดเข้าสู่ภาวะปกติ
อาการจะหายไปภายใน 24 ชั่วโมง
การรักษา
เตรยีมอปุกรณ์ในการดูดเสมหะและเครื่องมือในการ
ใส่ท่อช่วยหายใจและอปุกรณ์ที่ให้ออกเซิจนใหพ้รอ้ม
ใช้ลูกสูบยางแดงดูดทางปากและจมูกเมื่อศีรษะทารกพ้นจากช่องคลอด
หลังจากดูดออกหมดแล้วหากทารกไม่หายใจควรให้แรงดันบวกผ่านทางท่อช่วยหายใจ
นางสาวนภัสกร ไชยมงคล เลขที่ 55 รหัสนักศึกษา 61120301057