Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
สูติศาสตร์หัตถการ
vacuum extraction
ความหมาย
การที่ใช้เครื่องดูดสุญญากาศในการเสริมแรงจากการหดรัดตัวของมดลูกในขณะเจ็บครรภ์ ร่วมกับแรงเบ่งของผู้คลอดดึงศีรษะทารกออกจากช่องคลอด โดยออกแรงดึงเฉพาะเวลาที่มดลูกหดรัดตัว
ข้อบ่งชี้
-
ด้านทารก
- การหมุนของศีรษะทารกผิดปกติ เช่น OP
- ทารกอยู่ในภาวะ fetal distress ที่ไม่รุนแรง
ข้อห้าม
.
- ทารกท่าผิดปกติ เช่น ท่าหน้า ท่าก้น และท่าขวาง
- มีการผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานมารดาอย่างชัดเจน
-
-
- ทารกอยู่ในภาวะ fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
-
สาเหตุทำคลอดไม่สำเร็จ
- มีความผิดสัดส่วนระหว่างเชิงกรานกับศีรษะทารก
-
- ศีรษะทารกอยู่สูงเหนือ ischial spine
- ใช้แรงดึงมากเกินไปทำให้ถ้วยสุญญากาศหลุด
- แนวการดึงไม่ตั้งฉากกับถ้วยสูญญากาศทำให้ถ้วยสุญญากาศหลุด
- ปากมดลูก ผนังช่องคลอดติดเข้าไปอยู่ในถ้วยสุญญากาศ
- ใช้เวลาน้อยเกินไปในการลดความดัน
- ใช้ถ้วยสุญญากาศขนาดเล็กเกินไป
- วางถ้วยสุญญากาศบนศีรษะในตำแหน่งที่ไม่เหมาะสม
-
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
.
-
- การฉีกขาดของฝีเย็บถึงทวารหนัก
- อาจเกิดการฉีกขาดของปากมดลูก
ด้านทารก
-
- อาจเกิดกะโหลกศีรษะแตกหรือแยกของรอยต่อกะโหลกศีรษะ
- อาจพบ ecchymosis หรือรอยถลอกที่บริเวณ caput succedaneum ซึ่งจะหายภายใน 7-8 วัน
- อาจมีเลือดออกที่จอตา ซึ่งหายได้ภายใน 1 สัปดาห์
- มีการบวมของหนังศีรษะ (localized scalp edema) ซึ่งเรียกว่า artificial caput
การพยาบาล
ก่อนทำ
- อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับการรักษา เหตุผล ภาวะแทรกซ้อน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและคลายความกังวล
- จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบฟันธ์ภายนอก ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ และสวนปัสสาวะ
3.เตรียมอุปกรณ์และเครื่องใช้ต่าง ๆ เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ พร้อมทั้งถ้วยสูญญากาศให้เหมาะสมกับขนาดของศีรษะทารก ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ และอุปกรณ์ช่วยเหลือทารก
- ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูกตามแผนการรักษา
ขณะทำ
- ประเมินการหดรัดของมดลูกและ ฟัง FHS ทุก 5 นาที On EFM เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง
- ให้กำลังใจผู้คลอด อยู่เป็นเพื่อน และรายงานความก้าวหน้าของการคลอดให้ทราบเป็นระยะ
- ขณะแพทย์ใส่เครื่องดูดสูญญากาศ ให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง (ให้ผู้คลอดหายใจเข้าออกลึกๆ)
- หลังจากผู้ทำคลอดใส่ถ้วยสูญญากาศแล้ว ผู้ช่วยลดความดันของเครื่องสุญญากาศครั้งละ 0.2 กก.ตารางเซ็นติเมตร ทุก 2 นาที จนถึงระดับ 0.6 หรือ 0.8 กิโลกรัมต่อตารางเซ็นติเมตร ซึ่งใช้เวลา 6-8 นาที พยาบาลต้องจับเวลาในขณะที่เครื่องลดความดัน
- ทำการลดความดันครบตามเวลา ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ขณะมดลูกหดรัดตัวกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งพร้อมกับผู้ทำคลอดเริ่มดึงถ้วยสูญญากาศ เมื่อมดลูกคลายตัวดูแลความสุขสบาย และกระตุ้นเบ่งซ้ำเมื่อมีการหดรัดตัวใหม่
- ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งขณะแพทย์กำลังตัดผีเย็บ หลังจากนั้นกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งตามการหตรัดตัวของมดลูกจนกะทั้งเห็นศีรษะคลอดจึงหยุดเบ่งทำการดูดน้ำคร่ำ เช็ดตา เหมือนการคลอดปกติ และทำคลอดไหล่และลำตัวตามสำดับ
-
- กรณีช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสูญญากาศล้มเหลว เตรียมผู้คลอดและอุปกรณ์สำหรับผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องโดยทันที่
หลังทำ
.
1.ประเมินสัญญาชีพหลังและลักษณะทั่วไปของทารกแรกเกิด พร้อมทั้งสังเกตอาการผิดปกติที่เป็นภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ ได้แก่ รอยถลอกหรือแผลบริเวณศีรษะบริเวณ caput succedaneum อาการผิดปกติที่เกิดจากกะโหลกศีรษะและสมองกระทบกระเทือน และภาวะขาดออกซิเจน พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือแก้ไขและการพยาบาลมารกแรกเกิดต่อไป
- การดูแลมารดาระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ได้แก่ ประเมินการเสียเลือดหลังคลอดเนื่องจากการช่วยคลอดด้วยเครื่องสุญญากาศอาจทำให้มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด หรือปากมดลูก ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษาของแพทย์ ประเมินสัญญาชีพภายหลังคลอดทุก 15 นาที ในช่วง ๆ ชั่วโมงแรก และทุก 30 นาทีจนกว่าจะเข้าสู่ภาวะปกติ ดูแลให้ผู้คลอดสุขสบาย เช่น เช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า ใส่ผ้าอนามัย ห่มผ้าและให้พักผ่อนเป็นต้น
- แนะนำการคลังมดลูก ไม่กลั่นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการตกเลือด
- แนะนำการสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือด และอาการปวดแผลผีเย็บจากการเกิด hematoma
- แนะนำเกี่ยวกับการทำความสะอาดอวัยวะสิบพันธ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย และเปลี่ยนผ้าอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหตรัดตัวของมดลูกต่อ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
ขั้นตอน
-
2.ผู้ทำคลอดสวมถุงมือปราศจากเชื้อ ประกอบส่วนต่างๆและตรวจสอบเครื่องดูดสุญญากาศให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน โดยเฉพาะบริเวณข้อต่อและส่วน cup
3.emotional support & encouragement แก่ผู้คลอด, อาจพิจารณาทำ pudendal nerve block, สวนปัสสาวะให้เรียบร้อย
-
-
6.เลือกขนาดของ cup ให้เหมาะสมแล้ว apply ส่วน cup ของเครื่องดูดสุญญากาศ โดยให้ส่วนกลางของ cup อยู่เหนือต่อ flexion point คือ ประมาณ 1 เซนติเมตรหน้าต่อ posterior fontanelle ซึ่งถ้าใส่ cup ในตำแหน่งที่ถูกต้อง จะช่วยส่งเสริมการเกิด flexion, descent และ autorotation ของศีรษะทารกในขณะที่ดึง
ุึ7.ถ้าไม่สามารถ apply cup ได้ การตัดฝีเย็บในช่วงเวลานี้อาจมีประโยชน์ เพื่อช่วยให้สามารถใส่ cup ได้ง่ายขึ้น แต่ถ้าสามารถใส่ cup ได้โดยไม่ต้องตัดฝีเย็บน่าจะเป็นผลดีกว่า เนื่องจากช่วยลดโอกาสการเสียเลือดโดยไม่จำเป็น
8.ตรวจสอบตำแน่งของ cup อีกครั้งหนึ่งว่าไม่มีส่วน soft tissue (ไม่ว่าจะเป็นส่วนของ cervix หรือ vagina) เข้ามาอยู่ภายในขอบของ cup
9.สร้างภาวะสุญญากาศ (อาจเป็นแบบใช้มือบีบหรือเท้าเหยียบหรือเป็นแบบกดปุ่มอัตโนมัติ ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องมือ) โดยทำให้เกิด negative pressure ครั้งละ 0.2 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และตรวจสอบตำแน่งของ cup เป็นระยะ
-
11.หลังจากเพิ่ม negative pressure ถึงที่ต้องการแล้ว ให้เริ่มดึง (traction) ตามแนวของ pelvic axis และแนวการดึงต้องตั้งฉากกับ cup เสมอ แต่ถ้าศีรษะทารกอยู่ในตำแน่งที่ค่อนข้างเอียงหรือไม่ flex เพียงพอ ลักษณะของการดึงจะต้องพยายาม correct ให้ตำแหน่งของศีรษะทารกกลับมาอยู่ในแนวกลางและ flex ร่วมด้วย (ไม่จำเป็นว่าจะต้องดึงในแนว midline เสมอไป)1.
12.ในแต่ละครั้งของการหดรัดตัวของมดลูก ให้ดึงในแนวตั้งฉากกับ plane ของ cup เสมอ และในระหว่างการดึงให้วางนิ้วของผู้ทำคลอดไว้บนหนังศีรษะทารกส่วนที่อยู่ถัดไปจาก cup ด้วย เพื่อเป็นการประเมินว่ามีการ slip เกิดขึ้นหรือไม่ และประเมินว่าศีรษะทารกมีการเคลื่อนต่ำลงมาหรือไม่ (ซึ่งถ้าดึงอย่างถูกต้องเป็นจำนวน 3 ครั้งแล้ว แต่ศีรษะทารกยังไม่มีการเคลื่อนต่ำลงมาเลย ให้ระวังว่าอาจมีภาวะ cephalopelvic disproportion; CPD เกิดขึ้น และอาจต้องนำไปผ่าตัดตลอดทางหน้าท้อง)
13.ในช่วงระหว่างการหดรัดตัวของมดลูกแต่ละครั้ง ต้องมีการตรวจสอบอัตราการเต้นของหัวใจทารก และตำแหน่งของเครื่องดูดสุญญากาศว่าเหมาะสมหรือไม่
14.หลังจากศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงมาจน subocciput มายันใต้ต่อ pubic symphysis แล้วและศีรษะทารกกำลังจะ extension ให้ทำคลอดศีรษะต่อตามปกติ โดยปิดเครื่องดูดสุญญากาศก่อนจึงค่อยนำส่วนของ cup ออกจากศีรษะทารก
Forceps extraction
-
ชนิดของคีม
-
-
- คีม Piper ใช้ทำคลอดศีรษะในการคลอดท่าก้น
- คีม Bartonใช้ในการดึงและหมุนในรายที่ศีรษะของทารกไม่หมุน
- คีม Tucker-McLane ศีรษะทารกที่มีลักษณะกลม
-
ข้อบ่งชี้
-
ด้านทารก
- ทารกอยู่ในภาวะ fetal dustress
-
-
ข้อห้าม
- มีภาวะผิดสัดส่วนของศีรษะทารกและช่องเชิงกรานอย่างชัดเจน (CPD) ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
- position ในทารกที่เป็นส่วนนำเป็นท่าหน้า หรือส่วนนำเป็นท่า brow
- Fetal distress ที่รุนแรงและไม่สามารถช่วยคลอดได้เร็ว หรือมี prolapse umbilical cord ด้วย
-
- ส่วนนำของทารกในครรภ์ยังไม่เข้าสู่อุ้งเชิงกราน
- ทารกมีปัญหาเกี่ยวกับ bone demineralization
- ทารกมีปัญหาเกี่ยวกับภาวะเลือดออกง่ายผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
- การฉีกขาดของช่องทางคลอด ตั้งแต่ตัวมดลูก ปากมดลูก ช่องคลอดฝีเย็บ อาจจะฉีกขาดเรื่อย จนถึงทวารหนัก
- อันตรายต่อกระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะไม่
- การหย่นของกล้ามเนื้อ เอ็นยืด จากการดึงคีมอย่างแรง
- การแยกของกระดูกหัวหน่าวและ sacroiliac joint ทำให้ปวดหัว เหน่า หรือปวดหลังส่วนล่าง
-
- การติดเชื้อโดยเฉพาะในรายที่มีการฉีดขาด
ด้านทารก
-
- อันตรายต่อสมองทารก เช่นมีเลือดออกในสมอง เลือดออกใต้เยื่อบุตา ภาวะ cerebral palsy หรือสติปัญญาไม่ดี
- อันตรายต่อเส้นประสาท facial เกิด facial palsy ทำให้ปากเบี้ยว หนังตาปิดไม่สนิท
- กระบอกตาถูกบีบ ทำให้มี retrobulba hematoma ตาเหล่ หนังตาตก
- หูหนวก เกิดบาดแผล หรือมีเลือดออกในอวัยวะเกี่ยวกับการได้ยิน
การพยาบาล
ก่อนทำ
1.อธิบายให้ผู้คลอดทราบเกี่ยวกับแผนการช่วยคลอด เหตุผลและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เพื่อลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือ
- จัดให้ผู้คลอดอยู่ในท่า lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและ ฝีเย็บด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ และสวนปัสสาวะ
- เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยคลอด ได้แก่ forceps สารหล่อลื่น อุปกรณ์ในการช่วยเหลือทารก
-
ขณะทำ
- ประเมินเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาทีหรือ on electronic fetomonitering เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจทารกอย่างต่อเนื่อง
-
- ขณะที่แพทย์ใส่คีม ให้ผู้คลอดผ่อนคลายกล้ามเนื้อไม่เกร็ง โดยกระตุ้นให้ผู้คลอดสูดลมหายใจเข้าออกยาว ๆ
- ดูแลความสุขสบาย โดยการเช็ดหน้าด้วยผ้าเย็น ให้ผู้คลอดพักขณะที่มดลูกคลายตัว เมื่อมดลูกหดรัดตัวอาจกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งพร้อมดึง
- ประเมินสัญญาณชีพเป็นระยะ ๆ
- แนะนำให้ผู้คลอดหยุดเบ่งในขณะที่ศีรษะทารกมาตุงบริเวณผีเย็บและแพทย์กำลังจะตัดผีเย็บ หลังจากนั้นกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งได้ตามการหดรัดตัวของมดลูก จนกระทั้งศีรษะคลอดจึงหยุดเบ่งแพทย์จะดูดเมือกและน้ำคร่ำในปากและในจมูกทารกและทำคลอดส่วนอื่นได้แก่ ไหล่และลำตัวต่อไปเช่นเดียวกับการทำคลอดปกติ
- กรณีการช่วยคลอดด้วยคีมล้มเหลวควรเตรียมผู้คลอด อุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมสำหรับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องรวมทั้งเซ็นใบยินยอมการรักษาและการผ่าตัด
หลังทำ
- ประเมินสัญญาณชีพ การหดรัดตัวของมดลูก กระเพาะปัสสาวะรวมทั้งการฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อเฝ้าระวังการการตกเลือดหลังคลอด
- ติดตามผลการตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บหรือความผิดปกติใดๆ ที่เกิดจากการใช้คีมช่วยคลอดหรือไม่
- ให้คำแนะนำเพื่อป้องกันการตกเลือดในเรื่องการคลึงมดลูก การไม่กลั้นปัสสาวะ การสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือดและอาการปวดแผลฝีเย็บเนื่องจากการเกิด hematoma
- ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอกทุกครั้งหลังขับถ่ายการเปลี่ยนผ้าอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่อไปอีกอย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
วิธีทำ
1.ทบทวนสภาวะ
.
ส่วนนำต้องเป็นท่า vertex, OA position
-
-
-
2.emotional support & encouragement แก่ผู้คลอด, อาจพิจารณาทำ pudendal nerve block, สวนปัสสาวะให้เรียบร้อย, ผู้ทำคลอดสวมถุงมือปราศจากเชื้อ
-
-
5.ใส่ blade ด้านซ้ายก่อนเสมอ (left hand, left blade, left thigh) โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือขวาสอดเข้าไปในช่องคลอดด้านข้างต่อศีรษะทารก ที่ตำแหน่งประมาณ 5 นาฬิกา ใช้มือซ้ายถือ forceps ข้างซ้ายในลักษณะคล้ายการจับปากกา คือจับด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ และตั้งตรงให้ blade ห้อยลง แล้วค่อยๆสอดคีมด้านซ้ายเข้าไปในช่องคลอดที่ตำแหน่ง 5 นาฬิกา ให้คีมแนบกับศีรษะทารก และใช้นิ้วหัวแม่มือด้านขวาค่อยๆดันส่วนขอบล่างของคีมเข้าไป โดยไม่ใช้แรงดันที่มากจนเกินไป ถ้าใส่ forceps ได้ในตำแหน่งที่ถูกต้องจะไม่ต้องใช้แรงมาก และส่วนด้ามของคีมจะค่อยๆลดระดับต่ำลง หลังจากนั้นให้ผู้ช่วยถือด้ามคีมข้างซ้ายที่ใส่แล้วไว้
7.หลังใส่คีมทั้ง 2 ข้างได้ในตำแหน่งที่ถูกต้องแล้ว คีมจะต้องล็อคกันได้พอดี โดยตรวจสอบได้จากแนว sagittal suture อยู่กลางและขนานกับ blade, posterior fontanelle อยู่เหนือจาก shank 1 นิ้วมือ และคลำส่วน fenestration ของ blade ได้แค่ปลายนิ้ว (ถ้าคีมไม่สามารถ lock กันได้แสดงว่าตำแหน่งไม่ถูกต้อง ต้องถอดคีมออกและตรวจ position ของศีรษะทารกให้แน่นอนอีกครั้ง แล้วจึงใส่คีมใหม่)
8.ฟังเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารกหลังจากล็อคคีมทั้ง 2 ข้างเรียบร้อยแล้ว ว่าไม่มีอัตราการเต้นที่ช้าผิดปกติ
-
10.นั่งเก้าอี้ในท่าที่ถนัดและออกแรงดึงคีมโดยใช้กล้ามเนื้อ biceps เท่านั้น โดยทดลองดึงดูก่อน (trial traction) เพื่อดูว่าศีรษะทารกเคลื่อนตามลงมาหรือไม่ ถ้าศีรษะทารกเคลื่อนตามลงมาจึงทำการดึงต่อ
11.ดึงอย่างระมัดระวังโดยอาจดึงพร้อมหรือไม่พร้อมกับการหดรัดตัวของมดลูกก็ได้ โดยมือขวาจับที่ handle และ transverse process จากด้านล่าง (หงายมือ)ให้อยู่ระหว่างนิ้วชี้กับนิ้วกลาง และมือซ้ายจับ shank เหนือ transverse process ในลักษณะคว่ำมือ
12มือขวาออกแรงดึงตรงๆในแนวราบ ส่วนมือซ้ายดึงลงล่างจะได้แนวแรงโดยรวมประมาณ 45 องศาตาม pelvic axis ซึ่งการดึงในแต่ละครั้งศีรษะทารกจะเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ จนเมื่อ subocciput มายันใต้ต่อ symphysis pubis แล้ว ให้ดึงขึ้นจนเห็นรอยต่อระหว่างหน้าผากเด็กกับเส้นผม จึงทำการถอดคีม โดยถอดคีมด้านขวาก่อนด้วยการปาดคีมไปทางหน้าขาซ้ายของมารดา แล้วถอดคีมข้างซ้ายในลักษณะเดียวกัน หรืออาจจะให้ศีรษะทารกคลอดออกมาพร้อม blade แล้วค่อยถอดคีมออกก็ได้ แล้วจึงทำคลอดทารกต่อตามขั้นตอนปกติ.
6ใส่คีมข้างขวาในลักษณะเดียวกับข้างซ้าย แต่เปลี่ยนเป็นที่ตำแหน่ง 7 นาฬิกา (right hand, right blade, right thigh).
ceasarean section
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
- ภาวะแทรกช้อนทางวิสัญญี ได้แก่ สำลักอาหารและน้ำเข้าปอด กดการหายใจในรายที่ใช้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนของร่างกาย
- ติดเชื้อ การติดเชื้อเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับหนึ่ง โดยการติดเชื้อที่มีความรุนแรง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ซึ่งสามารถป้องกันได้โดยตัดสินใจผ่าตัดอย่างรวดเร็วและให้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อหลายชนิด
- ตกเลือดซึ่งอาจเกิดการเสียเลือดมากจากการผ่าตัด จึงควรเตรียมเลือดให้พร้อมและให้สารน้ำและเกลือแร่ชดเชยเลือดที่เสียไป
การพยาบาล
ด้านจิตใจ
-
1.อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจถึงเหตุผลในการทำผ่าตัด ประโยชน์หรือผลดีที่ผู้คลอดจะได้รับ การช่วยเหลือ ขั้นตอนการเตรียมผ่าตัด การใช้ยาระงับความรู้สึกรวมทั้งความรู้สึกขณะผ่าตัด
- อธิบายการปฏิบัติตนระยะหลังผ่าตัด ได้แก่ การหายใจและการไออย่างถูกวิธี เพื่อขับเสมหะ วิธีผ่อนคลายหรือบรรเทาความเจ็บปวดแผลผ่าตัด การลุกนั่งและทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ลำไส้เคลื่อนไหวและทำหน้าที ตลอดจนการสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เลือดออกจากแผลผ่าตัดและออกทางช่องคลอดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและคลายความกังวล
- เปิดโอกาสให้ผู้คลอดได้ชักถามและระบายความรู้สึก รู้สึกหน้ามึด จะเป็นลม ใจสั่น เป็นต้น
-
เตรียมร่างกาย
-
- ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่ผ่าตัดโดยโกนขน และฟอกด้วยน้ำสบู่ตั้งแต่บริเวณยอดอกถึงต้นขาทั้งสองข้างและดูแลให้ทำความสะอาดร่างกายทุกส่วนพร้อมทั้งล้างสีทาเล็บ
- ตรวจเลือดหาความเข้มข้นของเลือดและหมู่เลือด เพื่อทราบสภาพก่อนผ่าตัดและเตรียมเลือดอย่างน้อย 1 ยูนิต เพื่อสามารถให้ชดเชยได้เมื่อมีข้อบ่งชี้ และในกรณีมี indlirect coombs test เป็นผลบวก ต้องแน่ใจว่ามีเลือดที่เข้ากันได้ก่อนผ่าตัด
4.ดูแลให้ผู้คลอดถอดฟันปลอม แว่นตาหรือคอนแทคเลนส์ และเครื่องประดับทุกอย่าง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยาสลบก่อนผ่าตัดตามแผนการรักษารักษา
- ใส่สายสวนปัสสาวะค้างก่อนไปผ่าตัด เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่างขณะผ่าตัด
-
ขณะทำ
- ประเมินประเมินสัญญาชีพผู้คลอดทุก 5 - 15 นาที
- สังเกตและบันทึกอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก เช่น หายใจลำบาก กระสับกระส่าย คลื่นไส้อาเจียน เป็นต้น
- เตรียมเครื่องมือผ่าตัด และปฏิบัติกับผู้คลอดขณะผ่าตัดและหลังผ่าตัดเช่นเดียวกับศัลยกรรมช่องท้องทั่วไป
- สังเกตและบันทึกเวลาเกิดของทารกให้ถูกต้อง
-
-
หลังทำ
1.ประเมินสัญญาชีพผู้คลอดทุก 15 นาที ใน 1 ชม.แรก ทุก 30 นาที ใน 1ชั่วโมงที่สอง
หลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชม. จนอาการคงที่
2.ติดตามผลตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บหรือความผิดปกติ
ประเมินแผลผ่าตัดดูเลือดซึมบริเวณที่ก็อซปิดแผลไว้หรือเปล่า แนะนำาไม่ให้แผลโดนน้ำ
3.ประเมินอาการปวดแผลและแนะนำใช้มือประคองแผลเวลาลุกนั่ง ไอหรือ จาม ให้นอนท่า semi-fowler (กรณีไม่มีข้อห้าม) เพื่อให้หน้าท้องหย่อน หากปวดมากพิจารณาให้ยาบรรเทาปวดตามการรักษา
- รายที่ได้รับยาระงับความรู้สึกแบบ spinal block
ให้นอนราบหลังผ่าตัดอย่างน้อย 8 - 12 ชั่วโมง เพื่อป้องกันอาการปวดศีรษะจากน้ำไขสันหลังรั่ว
-
-
7.กระตุ้นการ early ambulate การสังเกตอาการตกเลือด การขับถ่ายปัสสาวะ หลังเอาสายสวนปัสสาวะออก การเริ่มรับประทานอาหารในระยะหลังผ่าตัด เป็นต้น
-