Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia, image, image, นางสาวเบญจวรรณ ขันติ์ถม เลขที่ 64 รหัส…
Birth Asphyxia
การพยาบาล
บันทึก RR, HR ถ้าผิดปกติ ควรรายงานแพทย์
สังเกตอาการขาดออกซิเจน ควรรายงานแพทย์
รักษาความอบอุ่นให้ทารก เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ให้ทารกพักผ่อนเพียงพอ
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา พร้อมสังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการให้ออกซิเจน
ดูแลให้ทารกได้รับการเจาะเลือดเพื่อประเมินระดับออกซิเจนในเลือด ถ้าผิดปกติรีบรายงานแพทย์
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การรักษา
ขั้นตอนแรกในการกู้ชีพ
กระตุ้นให้ทารกหายใจ
ใช้นิ้วมือตีหรือดีดฝ่าเท้า หรือลูบแผ่นหลังทารก
ให้ยา Naloxone (Narcan) 0.1 mg/kg IM
Clear airway
ภายหลังขั้นตอนแรก
ประเมินการหายใจและชีพจรทารกเสมอ
หายใจสม่ำเสมอดี ให้หยุดการกู้ชีพและดูแลตามปกติ
ทารกหายใจเองได้ แต่มีอาการเขียวคล้ำ หายใจเหนื่อย ให้เปิดทางเดินหายใจ
เช็ดตัวทารกให้แห้ง ห่อตัว หรือวางทารกไว้ radiant warmer
การทำ positive pressure ventilation (PPV)
ข้อบ่งชี้
ทารกที่ไม่หายใจ
ทารกไม่มีการตอบสนองต่อการกระตุ้นการหายใจ
ทารกหายใจ แต่มี HR < 100 bpm
ทารกมี apnea
จัดท่าทารก ใช้ผ้ารองไหล่ยกสูงจากพื้นประมาณ 1 นิ้ว
ทำให้ศีรษะแหงนไปด้านหลังเล็กน้อย
อย่าให้หน้าและคอแหงนมากเกินไป
เลือกขนาด Mask ให้เหมาะสมกับทารก
หลังทำ PPV 15-30 วินาที ต้องประเมินทารกโดยใช้เวลา 6 วินาที
การนวดหัวใจ
ข้อบ่งชี้
ทารกคลอดออกมาแล้วหัวใจไม่เต้น
ทารกในกลุ่ม severe asphyxia
ทำ PPV แต่ HR < 60 bpm หรือ 60-80 bpm
หลักการ
ใส่ ET tube และ PPV พร้อมกับนวดหัวใจ
อัตราการนวดหัวใจ : การช่วยหายใจ = 3:1 (กดหน้าอก 90 ครั้ง และช่วยหายใจ 30 ครั้ง
กดตำแหน่ง lower third ของ sternum ความลึก 1/3
วิธีที่ 1 ใช้ 2 นิ้ว คือนิ้วชี้กับนิ้วกลางกด ส่วนมืออีกข้างสอดใต้ตัวทารกเพื่อรองให้แข็งขึ้น
วิธีที่ 2 ใช้นิ้วหัวแม่มือ 2 ข้างทำการกด ส่วนนิ้วที่เหลือทั้ง 2 ข้าง สอดใต้ตัวทารก
เมื่อครบประมาณ 15-30 นาที หยุดทำเพื่อประเมิน HR < 80 bpm ให้นวดต่อ HR > 80 bpm หยุดนวด
ใส่ ET tube
การใช้ยา
Adrenaline 0.1-0.3 mg/kg ทาง ET tube หรือทาง umbilical vein
Sodium bicarbonate 1-2 mEq/kg + sterile water เท่าตัว ทาง umbilical vein
ปัจจัย
ด้านมารดา
การติดเชื้อ
มีภาวะน้ำคร่ำน้อยหรือมากกว่าปกติ
มีเลือดออกในไตรมาสที่สองและสาม
Pre-Post term
มีประวัติให้กำเนิดทารกตายคลอด
มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ
มารดาเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ใช้สารเสพติด
มารดาเป็นโรคเบาหวาน
ขณะคลอด
ได้รับยากระตุ้นความรู้สึก
มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
การผ่าตัดคลอด
ภาวะ PROM
มีการติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
มีการคลอดเฉียบพลัน
ระยะการคลอดยาวนาน
ภาวะสายสะดือย้อย
ด้านทารก
Preterm
มีส่วนนำผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
ประเมิน APGAR score
4-6 คะแนน = moderate asphyxia
0-3 คะแนน = severe asphyxia
7 คะแนน = mild birth asphyxia
หายใจหอบ หยุดหายใจ หัวใจเต้นผิดปกติ ความดันเลือดต่ำ ซึม ชัก ม่านตาขยาย
นางสาวเบญจวรรณ ขันติ์ถม เลขที่ 64 รหัส 61113301064