Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด, นางสาวนิธินาฏ …
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1. โรคหัวใจชนิดที่มีเลือดไหลลัดจากซีกซ้ายไปขวา (left to right shunt) ได้เเก่ VSD, ASD, PDA
VSD : การมีรูรั่วของผนังกั้นระหว่างห้องหัวใจห้องล่าง (Ventricular septal defect หรือ VSD)
ความหมาย
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
ชนิดไม่เขียวที่มีความผิดปกติในการสร้างผนังกั้น ventricle ที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิดรูรั่วเป็นทางติดต่อระหว่าง ventricle ซ้ายและขวา
พยาธิสภาพ
Small VSD: เกิดทางลัดการไหลของเลือดจากซีกซ้ายไปขวาน้อย ไม่เกิดหัวใจวาย หรือความดันปอดสูง และ Lange VSD: เกิดทางลัดการไหลของเลือดปริมาณมากไหลไปปอดทำให้หัวใจวายและไหลย้อนกลับ left atrium ไหลลงสู่ left venticle ทำให้หัวใจห้องล่างซ้ายโต
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : หายใจเร็วผิดปกติ เด็กตัวเล็ก โต
ช้า
การตรวจร่างกาย : พบเสียง murmur
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ : พบ left atrium และventricle
โต
Chest radiograph ในผู้ป่วยที่มี large VSD พบ cardiomegaly, increased pulmonary vascular marking
Echocardiography ใช้ยืนยันการวินิจฉัยและบอกตำแหน่งของ VSD เพื่อวางแผนการรักษา ventricular hypertrophy
อาการและอาการแสดง
Small VSD มักไม่ก่ออาการเด็กจะเติบโตได้เป็นปกติ
Large VSD จะมีอาการ heart failure โตช้า ติดเชื้อในทางเดินหายใจบ่อย
moderate VSD ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต
พัฒนาการทางกายช้า
การรักษา
Small VSD มีโอกาสปิดเองได้สูง โดยเฉพาะ muscular defect มักเปิดเองได้ ในช่วง 1-2 ปีแรก
Large VSD มีโอกาสปิดเองได้น้อย หากมีอาการ heart failure สามารถใช้ยาได้ เช่น Diuretic, digoxin, ACE inhibitor การผ่าตัดพิจารณาในกรณีที่มีเลือดไปปอด
การพยาบาล
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและการกระตุ้นให้มีการพัฒนาการเคลื่อนไหวทีเหมาะสม
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอ
3.แนะนําบิดามารดาให้มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและการมีพัฒนาการตามวัยเพื่อสร้างความเข้าใจในสภาพการณ์ที่เป็นจริงของเด็ก
ให้เวลารับฟังข้อมูล การพยาบาลเด็กป่วย จากครอบครัวด้วยท่าทีที่เต็มใจ พร้อมเปิดโอกาสให้ครอบครัวได้ระบายความรู้สึก ซักถามปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการดูแลเด็กจากนั้นจึงให้คำแนะนําหรือ ให้ข้อมูลต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับปัญหา
ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมงและสังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น หายใจเหนื่อย หอบมากขึ้น มีอาการเขียวมากขึ้น
ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กได้ออกกําลังลังกาย ตามศักยภาพแต่ต้องไม่เหนื่อยจนเกินไป กิจกรรมที่ทําให้ออกแรงมาก เช่น การร้องไห้ การเบ่งถ่ายอุจจาระ พยายามควบคุมและหลีกเลี่ยง เพราะจะส่งผลให้เด็กเกิดภาวะหมดสติจากสมองขาดออกซิเจนได้
สาเหตุ
เกิดจากมีรูรั่วผนังกั้นห้องหัวใจห้องล่าง ทําให้เลือดแดงจากหัวใจห้องล่างซ้ายผ่านรูรั้วไปยังห้องล่างขวาและออกสู่หลอดเลือดแดงของปอด ทําให้ปริมาณเลือดที่ไปปอดมากขึ้น ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย(ภายหลังการฟอกแล้ว) และล่างซ้ายจะเพิ่มมากขึ้นด้วย ทําให้หัวใจห้องซ้ายรับภาระมากขึ้น (ปริมาณเลือดเพิ่ม)เกิดภาวะหัวใจวายได้
PDA : การมีความผิดปกติของเส้นเลือดใหญ่ระหว่างหัวใจและปอด (Patent ductus arteriosus หรือ PDA)
พยาธิสภาพ
PDA ขนาดเล็กมักไม่ก่อผลเสียต่อระบบไหลเวียนโลหิตแต่หากมีขนาดใหญ่จะส่งผลให้เกิด left to right shunt shunt ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคล้ายกับที่พบใน large VSD คือเกิด heart failure
การวินิจฉัย
Chest radiograph คล้ายกับที่พบใน VSD ร่วมกับเห็น enlarged ascending aorta
Echocardiography ใช้ยืนยันการวินิจฉัยและหาความผิดปกติร่วม
Electrocardiography คล้ายกับที่พบใน VSD
การตรวจร่างกาย : ได้ยิน murmur ที่ลิ้น
pulmonic
ถ่ายภาพรังสีทรวงอก : พบ ventricle ซ้ายโต
หลอดเลือด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ : พบว่าหัวใจล่างซ้ายโต
ความหมาย
เกิดจากการที่หลอดเลือด ductus arteriosus (หลอดเลือดที่เชื่อมระหว่างส่วนต้นของ descending aorta กับส่วนต้นของหลอดเลือดแดง pulmonary ข้างซ้าย) ไม่ปิดภายหลังทารกคลอด ซึ่งปกติควรปิดภายใน 1 – 4 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
ทารกหรือเด็กที่มี small PDA มักไม่มีอาการ
ทารกที่มี PDA ขนาดใหญ่ จะมีอาการของ heart failure
ทารกคลอดก่อนก าหนด มักพบภาวะแทรกซ้อนที่สัมพันธ์กับ prematurity ร่วมด้วย
ทารกหรือเด็กที่มี small PDA ตรวจพบลักษณะของชีพจรปกติ ฟังหัวใจพบ continuous murmur grade 1-3 ที่ตำแหน่ง left upper sternal border
ทารกคลอดครบก าหนดที่มี large PDA ตรวจพบลักษณะของชีพจรแบบ bounding pulse
การรักษา
การผ่าตัด (ligation or division)
Transcatheter closure
Prostaglandin synthesis inhibitor (เช่น indomethacin, ibuprofen) ใช้ได้ผลเฉพาะ ในทารกคลอดก่อนกำหนด
การพยาบาล
ดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ปอดโดยดูแลเรื่องความสะอาดของช่องปากและฟันอย่างสม่ำเสมอ
ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรีเพียงพอสำหรับการเจริญเติบโต ที่สำคัญคืออาหารที่ให้รับประทานต้องเป็นอาหารที่มีลดเกลือหรือลดเค็มเพื่อป้องกันภาวะน้ำเกิน จนส่งผลให้หัวใจทำงานมากกว่าปกติ
ดูแลให้น้ำในปริมาณที่จำกัด หรือจำกัดปริมาณนมต่อวันตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการคั่งของน้ำในร่างกาย
ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมง และสังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น หายใจเหนื่อย หอบมากขึ้น มีอาการเขียวมากขึ้น
ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กได้ออกกำลังกาย ตามศักยภาพแต่ต้องไม่เหนื่อยจนเกินไป หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ออกแรงมาก เช่น การร้องไห้ การเบ่งถ่ายอุจจาระ
สาเหตุ
เกิดจากการที่หลอดเลือด ductus arteriosus (หลอดเลือดที่เชื่อมระหว่างส่วนต้นของ descending aorta กับส่วนต้นของหลอดเลือดแดง pulmonary ข้างซ้าย) ไม่ปิดภายหลังทารกคลอด ซึ่งปกติควรปิดภายใน 1 – 4 สัปดาห์
ASD : การมีรูรั่วของผนังกั้นระหว่างห้องหัวใจห้องบน (Atrial septal defect หรือ ASD)
พยาธิสภาพ
Moderate to large ASD: เกิด shunt ปริมาณมากจนเกิด volume overload ทำให้เกิด right atrial enlargement และ right ventricular hypertrophy หากไม่รักษาจนเวลาผ่านไปหลายปี ทิศทางของ shunt จากเดิม left to right จะเปลี่ยนเป็น right to left shunt
Small ASD: ขนาดเล็ก 3 mm. ปิดเองได้ ขนาด 3-8 mm. ปิดเองได้ก่อนอายุ 18 เดือน
การรักษา
Small ASD อาจไม่จำเป็นต้องรักษาและมีโอกาสปิดเองได้สูง
Moderate to large ASD ที่มีเลือดไปปอดเพิ่มอย่างมีนัยสำคัญ เช่น pulmonary flow: systemic flow ratio >1.5:1 ควรได้รับการรักษาโดย transcatheter closure หรือการผ่าตัด
การวินิจฉัย
Cardiac catheterization ไม่มีความจำเป็น ยกเว้นในกรณีวางแผนการรักษาโดย transcatheter intervention
Echocardiography ใช้ยืนยันการวินิจฉัยหรือตรวจหา heart defect ชนิดอื่นที่สามารถพบร่วมได้
Chest radiograph พบ cardiomegaly ร่วมกับ right atrial and right ventricular dilation และพบ increased pulmonary vascular marking (บ่งบอกถึง pulmonary blood flow ที่เพิ่มขึ้น)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ASD ขนาดปานกลางขึ้นไป
จะพบเอเตรียมขวามีการ
ความหมาย
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีความผิดปกติในการสร้างผนังกั้นเอเตรียมที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิดรูรั่วเป็นทางติดต่อระหว่างเอเตรียม
ซ้ายและขวาการเกิดรูรั่วอาจมีเพียงรูเดียวหรือหลายรูก็ได้
อาการและอาการแสดง
small ASD: ไม่ก่ออาการ
Moderate to large ASD: เหนื่อยง่ายเมื่อออกแรง,หัวใจเต้นผิดจังหวะ ,ใจสั่น, เมื่อยล้า, มีลิ่มเลือดอุดตัน
การพยาบาล
1.ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรีเพียงพอสําหรับการเจริญเติบโต ที่สําคัญคืออาหารที่ให้รับประทานต้องเป็นอาหารที่มี ลดเกลือหรือลดเค็มเพื่อป้องกันภาวะน้ำเกิน จนส่งผลให้หัวใจทำงานมากกว่าปกติ
.ดูแลให้น้ำในปริมาณที่จํากัด หรือจํากัดปริมาณนมต่อวันตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการคั่งของน้ำในร่างกาย
3.ดูแลให้ยาตามแผนการรกัษา ซึ่งส่วนใหญ่ ยาที่ได้รับจะเป็นกลุ่มยา lanoxin
4.ดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ปอดโดยดูแลเรื่องความสะอาดของช่องปาก หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับบุคคลที่เป็นหวัด ไอเจ็บคอ หรือหลีกเลี่ยงการพาบุตรไปที่ชุมชน หรือถ้าบุตรเริ่มเป็นหวัด ควรรีบรักษาให้หายโดยเร็ว
ประเมิน v/s ทุก 4 ชม.
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติในการสร้างผนังกั้นเอเตรียมที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิดรูรั่วเป็นทางติดต่อระหว่างเอเตรียมซ้ายและขวา การเกิดรูรั่วอาจมีเพียงรูเดียวหรือหลายรูก็ได้ พบรูรั่วขนาดต่าง ๆ กัน
2. โรคหัวใจที่มีการอุดกั้นของทางออกเลือด เช่น PS และหลอดเลือด aorta ตีบ (Coarctation of Aorta:CoA)
Coarctation of Aorta (CoA) การคอดหรือการตีบแคบของหลอดเลือดเอออร์ต้า
พยาธิสภาพ
การตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้า แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มดังนี้
กลุ่ม preductal coarctation จะมีการตีบแคบของหลอดเลือดเอออร์ต้าอยู่เหนือรอยต่อของหลอดเลือด ductus arteriosus
กลุ่ม postductal coarctation จะมีการตีบแคบของหลอดเลือดเอออร์ต้าเป็นช่วงสั้น และอยู่ใต้รอยต่อของ ductus arteriosus
การรักษา
ในรายที่เป็น preductal coarctation และมีอาการของหัวใจวาย ให้รักษาจนทุเลา แล้วพิจารณาทำการผ่าตัด coarctectomy คือ ตัดส่วนที่ตีบแคบของหลอดเลือดเอออร์ต้าออก ควรพิจารณาทำผ่าตัดในผู้ป่วย CoA ก่อนอายุ 2 ปี
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiography)
ภาพรังสีทรวงอก
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง (Echocardiography)
การตรวจสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรังสี
ความหมาย
การตีบแคบหรืออุดตันของส่วนใดส่วนหนึ่งของหลอดเลือด aorta ซึ่งส่วนใหญ่มักจะพบที่ aortic arch
อาการและอาการแสดง
ในรายที่เป็น preductal coarctation และมีอาการของหัวใจวาย ให้รักษาจนทุเลา แล้วพิจารณาทำการผ่าตัด coarctectomy คือ ตัดส่วนที่ตีบแคบของหลอดเลือดเอออร์ต้าออก ควรพิจารณาทำผ่าตัดในผู้ป่วย CoA ก่อนอายุ 2 ปี
สาเหตุ
เกิดจากการตีบแคบหรืออุดตันของส่วนใดส่วนหนึ่งของหลอดเลือด aorta ซึ่งส่วนใหญ่มักจะพบที่ aortic arch
การพยาบาล
ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมง และสังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น หายใจเหนื่อยหอบมากขึ้น มีอาการเขียวมากขึ้น
ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรีเพียงพอสำหรับการเจริญเติบโต ที่สำคัญคือ อาหารที่ให้รับประทานต้องเป็นอาหารที่ลดเกลือหรือลดเค็ม
เปิดโอกาสให้ครอบครัวได้ระบายความรู้สึก ซักถามปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการดูแลเด็กจากนั้นจึงให้คำแนะนําหรือให้ข้อมูลต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับปัญหา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอ
ดูแลและกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการเคลื่อนไหวที่เหมาะสม และหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ออกแรงมาก เช่น การร้องไห้ การเบ่งถ่ายอุจจาระ
Pulmonary stenosis (PS) การตีบแคบของลิ้นพัลโมนารี
พยาธิสภาพ
เมื่อมีการตีบที่ลิ้นพัลโมนารีหรือเนื้อเยื่อใต้ลิ้น หรือมีการตีบแคบของหลอดเลือดแดงพัลโมนารีจะเกิดการอุดกั้นของทางออกของเวรตริเคิลขวาทำให้เกิดมีเลือดคั่งในเวนตริเคิลขวา แล้วส่งผลให้กล้ามเนื้อของเวนตริเคิลขวาหนาตัวขึ้น แต่ห้องหัวใจอาจจะมีขนาดปกติ หรือเล็กกว่าปกติ นอกจากนี้การที่เวนตริเคิลขวาหนาตัวขึ้นทำให้เลือดไหลจากเอเตรียมขวาจะไหลลงสู่เวนตริเคิลขวาได้ไม่สะดวก เอเตรียมขวาจึงขยายตัวออกเป็นผลให้เกิดการไหลลัดของเลือดดำจากเอเตรียมขวาไปผสมกับเลือดแดงในเอเตรียมซ้ายได้ทำให้ผู้ป่วยเขียวได้ ซึ่งมักพบในทารกแรกเกิด
การรักษา
ในรายที่มี mild PS ไม่จำเป็นต้องทำผ่าตัด ควรติดตามดูอาการต่อไป และแนะนำให้ป้องกันภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบ
ในรายที่มี moderate PS และ severe PS ควรพิจารณาให้การรักษา ดังนี้ 2.1 การขยายลิ้นพัลโมนารีที่ตีบ ด้วย balloon catheter ในระหว่างการสวนหัวใจ 2.2 การทำผ่าตัดขยายลิ้นพัลโมนารีที่ตีบ (pulmonary valvulotomy)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiography)
ภาพรังสีทรวงอก ในผู้ป่วยที่มี mild PS และ moderate PS จะพบขนาดหัวใจปกติ และหลอดเลือดในปอดปกติ ส่วนในรายที่ severe PS จะพบขนาดหัวใจโตกว่าปกติ
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง (Echocardiography) จะพบเวนตริเคิลขวาโต และอาจพบเอเตรียมขวาโตร่วมด้วย รวมทั้งสามารถบอกตำแหน่งของ PS ได้
การตรวจสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรังสี
ความหมาย
การตีบของลิ้น pulmonary มีผลให้การไหลของเลือดจากหัวใจห้องล่างขวาไปยัง pulmonary artery ได้ยากขึ้น
อาการและอาการแสดง
ชนิดที่มีการตีบแคบน้อย : ผู้ป่วยจะไม่มีอาการ
อาจพบ systolic murmur ง่ายเพียงเล็กน้อยเวลาออกแรง พบ systolic
murmur
ชนิดที่มีการตีบแคบปานกลาง : ผู้ป่วยอาจไม่มี
อาการหรือมีอาการเหนื่อย
ชนิดที่มีการตีบแคบมาก : ผู้ป่วยจะมีอาการของ
ภาวะหัวใจซีกขวาวายหรือ
ในผู้ป่วยที่มี mild PS จะไม่มีอาการผิดปกติ ส่วนในรายที่มี moderate PS และ severe PS อาจมีภาวะหัวใจวาย หรืออาการเขียวเล็กน้อยได้ เช่น มีอาการเหนื่อยง่าย หรือเจ็บแน่นหน้าอก และจะเป็นมากขึ้นเวลาออกกำลังกายบางรายอาจจะมีอาการเป็นลมหมดสติ หรือถึงขั้นเสียชีวิตในขณะออกก าลังกายอย่างหนักหรือมากเกินไปได้
สาเหตุ
การตีบของลิ้น pulmonary มีผลให้การไหลของเลือดจากหัวใจห้องล่างขวาไปยัง pulmonary artery ได้ยากขึ้น
การพยาบาล
เปิดโอกาส ให้ครอบครัวได้ระบายความรู้สึก ซักถามปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการดูแลเด็ก จากนั้นจึงให้คำแนะนำหรือให้ ข้อมูลต่างๆอย่างเหมาะสม และส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กได้ออกกำลังลังกาย ตามศักยภาพแต่ต้องไม่เหนื่อยจนเกินไป เลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ ออกแรงมาก เช่น การร้องไห้ การเบ่งถ่ายอุจจาระ
ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมง วัด oxygen saturationและ สังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น หายใจเหนื่อย หอบมากขึ้น มีอาการเขียวมากขึ้น
ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรี่เพียงพอ ที่สำคัญคือ อาหารที่ให้รับประทานต้องเป็นอาหารที่ลดเกลือหรือลดเค็ม
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างสม่ำเสมอ
สาเหตุ
ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ความเจ็บป่วยของแม่ ยาหรือสารเคมีบางอย่าง ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น Trisomy 21 (Down syndrome)
ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติทางพันธุกรรมร่วมกับปัจจัยภายนอก
นางสาวนิธินาฏ เวทนา รหัสนักศึกษา 621001046