Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injuries) - Coggle Diagram
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injuries)
ทารกที่มีภาวะเสี่ยง
คลอดท่าก้น
ขนาดตัวโต
ระยะที่2การคลอดยาวนาน
ได้รับการช่วยคลอดด้วยคีม
เป้าหมายทางการพยาบาล
เลือกวิธีคลอดที่ปลอดภัยต่อทารก
ภายหลังคลอดทารกจะต้องได้รับประเมินการบาดเจ็บจากการคลอดทุกราย
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ก้อนบวมโนที่ศีรษะ
(Caput succedaneum)
การวินิจฉัย
คลำ ศีรษะทารกแรกเกิด
พบก้อนบวมในลักษณะนุ่ม กดบุ๋ม
กดไม่เจ็บเคลื่อนไหวได้
สาเหตุ
แรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างคลอดท่าศีรษะ
ของเหลวซึมออกมานอกหลอดเลือดในชั้นใต้เยื่อหุ้มหนังศีรษะ
จากการใช้ V/E
อาการและอาการแสดง
พบบริเวณด้านข้างของศีรษะ
ก้อนบวมโนทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
การรักษา
หายได้เอง
หายประมาณ 3วัน ถึง 2-3สัปดาห์ขึ้นอยู่กับขนาด
กระดูกไหปลาร้าหัก
(Fracture clavicle)
การพยาบาล
ให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหปลาร้าหักอยู่นิ่ง
พยายามไม่ให้เคลื่อนไหว
ก้อนโนเลือดที่ศีรษะ
(Cephalhematoma )
ความหมาย
การคั่งของเลือดบริเวณใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ ขอบเขตชัดเจน
สาเหตุ
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องคลอด
จากการใช้เครื่องดูดสูญญากาศ
อาการแสดง
ชัดเจนภายใน 24 hrs.
บวม มีขอบเขตชัดเจนบนกระดูกกะโหลกศีรษะชิ้นใดชิ้นหนึ่ง
พบก้อนโนเลือดมีสีสีดำหรือน้ำเงินคล้ำ
เลือดออกใต้เยื่อบุตานัยน์ตา
(Subconjunctival hemorrhage )
สาเหตุ
มารดาคลอดยาก
ศีรษะถูกกด
หลอดเลือดที่เยื่อบุนัยน์ตาแตก
แนวทางการรักษา
หายไปเองได้
ใช้เวลาหาย 2-3 wks.
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้าบาดเจ็บ
(Facial nerve palsy )
สาเหตุ
บาดเจ็บจากการคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ในรายที่รุนแรงไม่สมารถปิดตาได้
Corneal ulcer
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อใบหน้าข้างที่เส้นประสาทอัมพาตอ่อนแรง
เมื่อร้องไห้มุมปากจะเบี้ยว
แนวทางการรักษา
หยอดน้ำตาเทียมให้เพื่อป้องกันจอตาถูกทำลาย
อัมพาตที่แขน
(Brachial plexus palsy)
สาเหตุ
ทำคลอดไหล่ที่รุนแรง
ทำคลอดศีรษะผิดวิธี
ภาวะแทรกซ้อน
Erb–Duchenneparalysis
Klumpke’sparalysis
Total brachial plexus injury
การรักษา
อัมพาตของแขนส่วนล่างให้กำผ้านุ่มๆ
อัมพาตทั้งแขนนวดเบาๆและออกกำลังแขน
ข้อสะโพกเคลื่อน (hipdislocation)
อาการแสดง
ทารกมีขาบวม ขายาวไม่เท่ากัน มีข้อจำกัด
ในการเคลื่อนไหวหรือไม่มีการเคลื่อนไหว
การรักษา
อยู่นิ่งๆอย่างน้อย 2-4 สัปดาห์