Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(ภาวะหัวใจวาย (Heart Failure), จัดทำโดย: นางสาวบุษบา จันทร์เกลี้ยง…
ภาวะหัวใจวาย (Heart Failure)
พยาธิสภาพ
1.หัวใจขยายโต
มีพยาธิสภาพท่ีกล้ามเน้ือหัวใจ ปริมาณเลือดคั่งและแรงดันเลือดสูงมากกว่าปกติ จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
2.หัวใจเต้นเร็ว
เป็นกลไกการชดเชยเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่สูบฉีดไปให้เพียงพอกับความต้องการของเน้ือเยื่อร่างกาย
3.ระบบหายใจทำงานหนัก
ปอดบวมน้ำ หายใจเร็วหรือขัด ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation และใช้เวลาดูดนมนานกว่าจะหมดขวด อาจสําลักหรืออาเจียนได้
4.เหงื่อออก
บ่งบอกว่ามีอัตราเพิ่มของการเผาผลาญ และเพิ่มการทำงานของระบบประสาท อัตโนมัติส่งผลให้หัวใจทำงานเพิ่มข้ึนและหัวใจวายได้
5.ปัสสาวะน้อยลง
บวม เลือดไปเลี้ยงไตได้น้อย เส้นเลือดตีบแคบ น้ำและเกลือคั่ง
6.ตับโต
เลือดคั่งในตับ หัวใจซีกขวามีแรงดันเลือดสูง จะเห็นเส้นเลือดดำท่ีคอโป่งตึง
7.การเจริญเติบโตชะลอลงหรือล้มเหลว
เลี้ยงไม่โต จากปัญหาในการดูดนม เด็กมีการเผาผลาญเพิ่มข้ึน
8.ความทนทานในการทำกิจกรรมลดลง
เด็กจะหลับเป็นส่วนใหญ่
9.อาการทั่วๆไป
ร้องกวนโยเย หงุดหงิด ชอบให้อุ้ม เหงื่อมาก ตัวเล็กไม่สมวัย
การรักษาและการพยาบาล
1.ตรวจวัด v/s
เพื่อประเมินอาการและอาการแสดงที่เปลี่ยนแปลงไป และติดตามบันทึก I/O
2.ให้ยาขับปัสสาวะ
ลดปริมาณของเหลวในร่างกาย ป้องกันปอดบวมน้ำและน้ำคั่งในร่างกาย
3.จำกัดเกลือในอาหาร
4.จำกัดน้ำดื่มและน้ำเข้าสู่ร่างกายทุกทาง
เพื่อลดเลือดที่จะไหลเวียนเข้าสู่หัวใจ ลดความต้องการออกซิเจนของหัวใจ
5.check serum electrolyte
เพราะยาขับปัสสาวะทำให้เกิดโปตัสเซียมและคลอไรด์ต่ำ และบอกถึงภาวะ Digitalis intoxication
6.ให้ยา Digitalis
เพื่อเพิ่มแรงบีบของกล้ามเน้ือหัวใจ เลือดไปสู่ไตเพิ่มข้ึน ขับของเสียออกได้ง่าย
7.ให้ยาขยายหลอดเลือด
ลดการบีบตัวของหลอดเลือดในอวัยวะต่างๆ เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะ ต่างๆได้ดี และช่วยลดอาการบวม
8.ดูแลตามอาการ
เช่น ให้ออกซิเจนและยาปฏิชีวนะ
9.ให้พักผ่อน
ลดการทำงานของหัวใจและเน้ือเยื่อต่างๆ ลดความต้องการออกซิเจน
10.ถ้ามีอาการของหัวใจวาย
ควรให้นอนพักรักษาตัวในร.พ.และในรายที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ ต้องรีบทำการสวนหัวใจ และส่งผ่าตัดแก้ไขความพิการนั้นๆ
อาการและอาการแสดง
เด็กทารก จะหายใจแรงและเร็วกว่าเด็กปกติอื่นๆ ดื่มนมได้น้อย เหนื่อยมากขึ้นเวลาดื่มนม น้ำหนักขึ้นน้อย เลี้ยงไม่ค่อยโต มีประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างบ่อยๆ
เด็กโต จะพบว่าเหนื่อยง่าย เหนื่อยเวลาเล่น เล่นไม่ได้เท่าเพื่อน functional class เลวลง
บวมบริเวณขาบางรายอาจมีท้องโต (จากภาวะ ascities) ต้องนอนหนุนหมอนสูง (Orthopnea) ลุกขึ้นมาหอบเหนื่อยตอนกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspnea)
การวินิจฉัย
ตรวจเลือดเพื่อยืนยันภาวะหัวใจล้มเหลว การตรวจ echocardiography เพื่อดูการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้าย
NT-proBNP
BNP
สาเหตุ
เกิดจากโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (congenital heart disease) หรือ cardiomyopathy ซึ่งมีภาวะการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจที่ผิดปกติ
ความหมาย
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัวให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้อย่างเพียงพอ
ในเด็กมักเกิดจากโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดโดยเฉพาะวัยทารกและเด็กเล็ก
อาจเกิดจากกล้ามเน้ือหัวใจไม่แข็งแรง ลิ้นหัวใจไม่ปกติ หรือจังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
จัดทำโดย: นางสาวบุษบา จันทร์เกลี้ยง รหัสนักศึกษา 62105301048