Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME - Coggle Diagram
MECONIUM ASPIRATION
SYNDROME
การสำลักเอาขี้เทาที่อยู่ในน้ำคร่ำเข้าปอดในทารกเกิด
มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกตื้นๆ และไม่สม่ำเสมอตั้งแต่อายุประมาณ 24 สัปดาห์
ความถี่่ประมาณ 30-90 ครั้งต่อนาที
อายุครรภ์ประมาณ 34 สัปดาห์
อัตราการเคลื่อนไหว 40-60 ครั้งต่อนาที
ภาวะปกติจะไม่มีน้ำคร่ำเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด
grasping respiration
ทารกที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้
ทารกคลอดที่ครรภ์เกิดกำหนด
น้ำหนักแรกคลอดต่ำ
การคลอดนานทางช่องคลอด
มารดามีความดันเลือดสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษ
น้ำหนักมากกว่าปกติ
พยาธิสรีรวิทยา
การขาดออกซิเจนในระหว่างคลอด
ขี้เทาถูกบีบออกมาในน้ำคร่ำ ทำให้ทารกสำลักขี้เทาเข้าสู่ทางเดินหายใจ
หากขี้เทามีขนาดใหญ่จะอุดตันหลอดลมใหญ่ๆ ทำให้ขาดออกซิเจนรุนแรง
อาการแสดง
มักคลอดครบกำหนด หรือเกินกำหนด
มีประวัติ fetal distress
Apgar score ต่ำ
thick mecomium stained
amniotic fluid
ความรุนแรงแบ่งเป็น 3 ระดับ
รุนแรงน้อย
ทารกหายใจเพื่อเพิ่ม
minute ventilation
ค่าความดันคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ค่าความกรดด่างของเลือด
เข้าสู่ภาวะปกติภายใน 24 ชั่วโมง
รุนแรงปานกลาง
ทารกจะมีอาการของการกดการหายใจ
หายใจเร็ว
ซี่โครงบุบขณะหายใจ
เขียวคล้ำ
อาการรุนแรงสุดภาใน 24 ชั่วโมง
มักหายได้ภายใน 4-7 วัน
รุนแรงมาก
ทารกหายใจล้มเหลวทันทีหลังคลอด หรือ 2-3 ชั่วโมงหลังคลอด
ฟังปอดได้ rhonchi และ crackle
อาจขาดออกซิเจนรุนแรง
การรักษา
ถ้ามีความเสี่ยงใช้ลูกสูบยาแดงดูดทางปากและจมูก
ทารกที่มีขี้เทาเหนียวมากจะใส่ท่อช่วยหายใจและดูดขี้เทาออก