Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injuries), นางสาวนภัสกร ไชยมงคล เลขที่ 55…
การบาดเจ็บจากการคลอด
(Birth Injuries)
ก้อนบวมโนที่ศีรษะ (Caput succedaneum)
เกิดจากการคงของของเหลว
ก้อนบวมโนนี้จะข้ามรอยต่อ ( suture ) ของกระดูกกะโหลกศีรษะ
มีขอบเขตไม่แน่นอน
สาเหต
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหวา่งการคลอดท่าศีรษะ
จากการใช้เครื่องสูญญากาศช่วยคลอด (V/ E)
อาการและอาการแสดง
พบได้บริเวณด้านข้างของศีรษะ
ก้อนบวมโนนี้ทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
แนวทางการรักษา
สามารถหายได้เองโดยไม่จำเป็นต้องรักษา
จะหายภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
ประมาณ 3 วันถึง 2–3 สัปดาห์ขึ้นอยู่กับขนาดของก้อบวมในที่เกิดขึ้น
ก้อนโนเลือดที่ศี่รษะ (Cephalohematoma )
เป็นการคั่งของเลือดบริเวณใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
มีขอบเขตชัดเจน
ไม่ข้ามรอยต่อกระดูกกะโหลกศีรษะ
พบมากบนกระดูก parietal
สาเหต
เกิดจากมารดามีระยะเวลาการคลอดยาวนาน
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องคลอด
จากการใช้เครื่องสูญญากาศช่วยคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
จะเกิดภาวะระดับบิลิรูบินในเลือดสูง(hyperbilirubinemia)
ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
จะปรากฏให้เห็นชัดเจนภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิด
มีขอบเขตชัดเจน
แนวทางการรกษา
ในรายที่ก้อนเลือดมีขนาดใหญ่อาจรักษาโดยการดูด
เลือดออก
เลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตา ( Subconjunctival hemorrhage )
สาเหตุ
เกิดจากการที่มารดาคลอดยาก
ศีรษะทารกถูกกด
หลอดเลือดที่เยื่อบุนัยน์ทำให้มีเลือดซึมออกมา
แนวทางการรักษา
สามารถหายไปไดเ้องโดยไม่ต้องการการรักษา โดยใช้ระยะเวลา 2 – 3 สัปดาห์
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้าบาดเจ็บ (Facial nerve palsy )
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจากการคลอด ทำให้เนื่อเยื่อเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7ของใบหน้าทารกถูกทำลาย
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อใบหน้าข้างที่เส้นประสาทเป็นอัมพาตจะอ่อนแรง
เห็นได้ชัดเจนว่าไม่สามารถเคลื่อนไหวหน้าผากข้างที่เป็น
อัมพาตให้หย่นได้
ไม่สามารถปิดตาได้
เมื่อร้องไห้มุมปากจะเบี้ยว
การพยากรณ์โรค
อาจใช้เวลา 2–3 วัน หรือหลายเดือน แต่ถ้าเส้นประสาทถูกทำลายมากอาจเป็น
อัมพาตใบหน้าอย่างถาวร
อัมพาตที่แขน (Brachial plexus palsy)
สาเหต
การทำคลอดไหล่ที่รุนนแรง
การทาํคลอดท่าศีรษะผิดวิธี เช่น ทำคลอดโดยการเหยียดศีรษะและคอของทารกอย่างรุนแรง
เกิดอัพาตที่แขนส่วนบน (upper arm)
Erb – Duchenne paralysis
เส้นประสาทคู่ที่ได้รับบาดเจ็บคือเส้นประสาทคอคู่ที่ 5และ 6
อาการและอาการแสดง
ไม่มีอาการผวา (moro reflex) ยังกำมือ (graspreflex) ได้
Klumpke’ s paralysis
เส้นประสาทคู่ที่ได้รับบาดเจ็บ คือ c7,8-T1
Horner’s syndrome
รูม่านตาหด (miosis)
หนังตาตก (ptosis)
ตาหวำลึก (exophthalmos)
ต่อมเหงื่อที่บริเวณใบหน้าทำหน้าที่ได้ไม่ดี
อาการและอาการแสดง
ไม่สามารถกำมือได้แต่ยังมีอาการผวา biceps และ radial
Combined หรอื Total brachial plexus injury
เส้นประสาทคู่ที่ได้รับาดเจ็บคือเส้นประสาทคอคู่ที่ 5 เส้นประสาทที่มาเลี้ยงทรวงอกคู่ที่ 1
อาการและอาการแสดง
ไม่มีปฎิกิริยาสะท้อนกลับ (reflexs) ทั้งหมด
การรกษา
ใหเ้ริ่มทำ passive movement เมื่อเส้นประสาทยบุบวม โดยทั่วไปจะรอจนกว่าทารกอายุ 7 – 10 วนั
ให้แขนอยู่น่ิง
ยึดแขนไว้ในท่าหัวไหล่ทํามุม 90 องศากับ ลำตัวหมุนแขนออกด้านนอกแขนส่วนล่างอยู่ในท่าหงาย และฝ่ามือหันเข้าหาใบหน้า
อัมพาตพาตของแขนส่วนล่างให้กำผ้านุ่ม ๆ
อัมพาตท้้งแขนนวดเบาๆและให้ออกกำลังแขน
กระดูกไหปลาร้าหัก (Fracture clavicle)
เน้นจำกัดการเคลื่อนไหว
ข้อสะโพกเคลื่อน (hipdislocation)
การวินิจฉัยโรค
Ortolan maneuver คือวางหัวแม่มือให้อยู่บริเวณต้นขาด้านใน อีกส่ีวนอยู่ด้านนอก จับ เข่าทารกงอแล้วกางขาออกถ้าได้ยินเสียง “click”
อาการและอาการแสดง
ทารกมีขาบวม ขายาวไม่เท่ากนั มีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว และเมื่อจับให้เคลื่อนไหวหรือหมุนขาทารกจะร้อง
การรักษา
จับให้ทารกนอนในท่างอข้อสะโพกและกาออก (human position) เวลาอยา่งนอ้ย1–2เดอืน
การรักษา
ถ้าหักไม่สมบูรณ์ (incomplete fracture) รักษาโดยการใส่เฝือกขา
ถ้าหักแยกจากกัน (complete fracture) รักษาด้วยวิธีการใช้แรงดึงาน 2 – 3 สัปดาห์
นางสาวนภัสกร ไชยมงคล เลขที่ 55 รหัสนักศึกษา 61120301057