Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกนํ้าหนักตัวผิดปกติ, ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์ image, image, image…
ทารกนํ้าหนักตัวผิดปกติ, ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์
การจําแนกประเภทของทารกแรกเกิด
จําแนกตามนํ้าหนักแรกเกิด
จําแนกตามอายุในครรภ์
จําแนกตามนํ้าหนักแรกเกิดและอายุในครรภ์
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักน้อยกว่าอายุในครรภ์
ตํ่ากว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10
นํ้าหนักตํ่ากว่าอายุครรภ์
น้อยกว่า 2,500 กรัม
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักมากกว่าอายุในครรภ์
มากกว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 90
นํ้าหนักมากกว่าอายุครรภ์
มากกว่า 4,000 กรัม
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักน้อย
นํ้าหนักตัว< 2,500 กรัม
preterm/term/postterm
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักน้อยมาก
นํ้าหนักตัว<1,500 กรัม
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักน้อยมากๆ
นํ้าหนักตัว< 1,000 กรัม
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 3 ประการ
มารดา สาเหตุจาก ความผิดปกติหรือความเจ็บป่วยของมารดาขณะตั้งครรภ์ เช่น มารดาเป็นโรค ความดันโลหิตสูง
ทารก เช่น ทารกแฝด พิการหรือติดเชื้อแต่กําเนิด
รก เช่น รกเกาะตํ่า รกลอกตัวก่อนกําหนด
IUGR
ความหมาย
โตช้ากว่าปกติ ระหว่างอยู่ในครรภ์มารดา
นํ้าหนักน้อยกว่า 10thpercentile
สาเหตุของ IUGR
สาเหตุจากตัวทารกเอง (fetal causes)
ติดเชื้อ
ความผิดปกติของโครโมโซม โดยเฉพาะ
trisomy 18, trisomy 13
ความพิการโดยกําเนิด
สาเหตุจากมารดา
ภาวะขาดอาหาร
นํ้าหนักมารดาขึ้นน้อย
ภาวะโลหิตจางรุนแรง
ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
โรคไต
โรคทางหลอดเลือดในมารดา
ยาและสารอันตราย
ครรภ์แฝด
สาเหตุจากรกและสายสะดือ
รกเสื่อมสภาพ
รกลอกตัวก่อนกําหนด
chorioangiom
รกเกาะตํ่า และ circumvallate placenta
marginal insertion และ velamentous insertion
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อทารก
Hyperbilirubinemia
hypoglycemia
hypocalcemia
polycythemia
Meconium aspiration syndrome
ผลต่อมารดา
ส่งผลกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจสูง
เพิ่มอัตราC/S
ทารกขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์
นํ้าหนักน้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นไทล์
นํ้าหนักน้อยกว่าอายุครภ์ (SGA)
ปัจจัย
พันธุกรรม
เพศ
ที่อยู่อาศัยบนที่สูง
ความผิดปกติของโครโมโซม
IUGR
สาเหตุ
มารดาติดสารเสพติด
สุรา สูบบุหรี่
ภาวะซีดเรื้อรัง
โรคหัวใจ
ตั้งครรภ์แฝด
ร่างกายไม่สมส่วน
การรักษา
ระบุความเสี่ยงต่อภาวะ IUGR
ดูดนํ้าครํ่าและช่วยกู้ชีพเมื่อคลอด
ดูแลควบคุมอุณหภูมิร่างกาย และให้ดูดนมแม่โดยเร็วหลังคลอด
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การรักษาอุณหภูมิร่างกายไม่มีประสิทธิภาพ
การแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่อง
การปฏิบัติหน้าที่บิดามารดาบกพร่อง
ภาวะเเทรกซ้อน
น้ำคร่ำน้อย
ตัวเย็น
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ขาด O2
เลิอดข้น ตัวเหลือง
ทารกขนาดโตกว่าอายุครรภ์
นํ้าหนัก มากกว่าหรือเท่ากับ 90 เปอร์เซ็นไทล์
ปัจจัยที่ส่งผล
กรรมพันธุ์ (มารดานํ้าหนักมาก)
เพศ (เพศชายมักมีขนาดตัวใหญ่>เพศหญิง)
ปัจจัยทางด้านพยาธิสรีรวิทยา
การมีหลอดเลือดใหญ่อยู่ผิดที่
Beckwith-Wiedemannsyndrome
ภาวะแทรกซ้อนของ IDM
CPD
หายใจลําบาก ระบบหายใจมีการพัฒนาล่าช้า
นํ้าตาลในเลือดตํ่า แคลเซี่ยมตํ่า
ภาวะเลือดข้น ตัวเหลือง
หัวใจโต หัวใจพิการแต่กําเนิดและ
caudal regression syndrome
การรักษา
ควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดตลอดการตั้งครรภ์
คาดคะเนขนาดของทารกกับเชิงกรานของมารดา อาจวางแผนC/S
ประเมินนํ้าตาลในเลือด ในระยะหลังคลอด
ให้สารนํ้าที่มีกลูโคส 10-15% IV จนกว่าอาการของทารกจะคงที่
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่อง
การกําซาบของเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภา
การเจริญเติบโต และพัฒนาการล่าช้า
ทารกครรภ์เกินกําหนดคลอด
หลังGA 42 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
นํ้าครํ่าน้อย
รกเสื่อม
สารอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอ
สายสะดือถูกกด
ขี้เทาลักษณะเหนียว
น้ำตาลในเลือดต่ำ ตัวเหลือง ชัก
ลักษณะทารก
ลําตัวผอมยาว
ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ผิวหนังมีขี้เทา
แห้ง ลอก
ไม่มีไขหรือขนอ่อน
การรักษา
ตรวจอัลตราซาวนด์เพื่อประเมินอายุครรภ์และความผิดปกติของทารก
ประเมินทารกด้วย NST, CSTคลอดGA 43 สัปดาห์
ดูดมูกก่อนทารกคลอดทั้งตัว และใส่สาย NG
ตรวจระดับแก๊สในเลือด ตรวจเอกซเรย์
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ กลูโคส ฮีมาโตคริต บิลลิรูบิน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพ
ภาวะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ
ภาวะเสี่ยงต่อสัมพันธภาพระหว่างบิดากับมารดาของทารกบกพร่อง
ปัจจัย
ตั้งครรภ์ครั้งแรก
ตั้งครรภ์ครั้งที่ 5 เป็นต้นไป
คลอดล่าช้า
ประจําเดือนครั้งสุดท้ายคลาดเคลื่อน ไม่สม่ำเสมอ
ทารกเกิดนํ้าหนักเหมาะสมกับอายุครรภ์
ระหว่างเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10 ถึง 90
นํ้าหนักเหมาะสมกับอายุครรภ์