Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ, นางสาวสิรินทรา ปะระทัง 621201167,…
การป้องกันและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การจัดการปัญหาภาวะโภชนาการ
ต่อมรับรสและเส้นประสาทมีจำนวนลดลง
ปัญหาฟันโยกและไม่มีฟันจากฟันสึกกร่อน
ต่อมน้ำลายเกิดการสะสมของไขมันและพังผืด
การทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารลดลง
ตับและการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงตับลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
ปัญหาด้านจิตใจ ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า เหงา โดดเดี่ยว
ความต้องการพลังงานของผู้สูงอายุ
ภาวะปกติ ผู้สูงอายุชาย 2,250 Kcal หญิง 1,850 Kcal
ภาวะเจ็บป่วย คำนวณตามสมการ Harris-Benedict
การส่งเสริมการออกกำลังกาย
การออกกำลังที่เพิ่มความแข็งแรงทนทานของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังที่ความยาวของกล้ามเนื้อคงที่ (isometric exercise)
การออกกำลังกายที่ความยาวของกล้ามเนื้อเปลี่ยนแปลง (isotonic exercise) ช่วยให้มีการใช้ออกซิเจน
การออกกำลังที่เพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
การออกกำลังที่ต้องใช้ออกซิเจนจำนวนมาก สม่ำเสมอ ติดต่อกัน (aerobic exercise)
การออกกำลังกายที่ไม่ได้ใช้ออกซิเจนสม่ำเสมอ (anaerobic exercise)
การออกกำลังกายที่นิยมและเหมาะสำหรับผู้สูงอายุ
โยคะ ไทชิ ชี่กง ยืดเหยียดด้วยยาง รำไม้พลอง
การแกว่งแขน เดิน ว่ายน้ำ แอโรบิค ปั่จักรยาน
ข้อห้ามการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ห้าม isometric exercise
ไม่ควรออกกำลังกายที่ต้องออกแรงเกร็ง หรือเบ่ง
ออกกำลังกายขณะเจ็บป่วย
ออกกำลังกายหลังรับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ
สังเกตอาการหอบ เหนื่อย เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดปกติ
การออกกำลังที่เพิ่มความยืดหยุ่นและผ่อนคลาย เช่น โยคะ ไทชิ
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
NREM (non rapid eye movement) เป็นระยะที่ไม่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว
stage 1 ระยะเริ่มหลับหรือเคลิ้ม (falling asleep)เวลา 1-7 นาที
stage 2 ระยะเริ่มง่วง (drowsy) เวลา 10-25 นาที
stage 3 ระยะหลับลึก ปลุกตื่นได้ยาก เกิดหลัง 30-45 นาที
เล็กน้อยก่อนเข้าสู่ระยะที่ 4
stage 4 ระยะหลับลึก (deepsleep) ปลุกตื่นยาก ร่างกายผ่อนคลาย
เต็มที่ เป็นระยะที่ร่างกายซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
REM (rapid eye movement) เป็นระยะที่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว
Stage 1 NREM เพิ่มขึ้น 8-15% เมื่อได้รับสิ่งรบกวนจะตื่นได้ง่าย
Stage 3-4 NREM ลดลง 15-20% หลับสนิทลดลง
REM ลดลง 20-25% ตื่น 1-2 ครั้ง/คืน ตื่นเร็วกว่าเดิม
การหลับผิดปกติ
การนอนไม่หลับ (INSOMIA)
หลับยาก (delayed sleep onset)
หลับๆ ตื่นๆ (interrupted sleep)
ตื่นเร็วเกินไป (early awakening)
การนอนหลับมากหรือง่วงเหงาหาวนอนมาก (hypersomnia)
sleep apnea
nacrolepsy
Parasomia พฤติกรรมที่เกิดขึ้นขณะหลับ
เดินละเมอเกิดใน nrem
การจัดการความเครียด (Stress management)
สาเหตุความเครียดในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วย
การถูกทารุณกรรม abuse
สูญเสียบทบาท
ขาดปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินชีวิต
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัว
การถูกทอดทิ้ง ความตาย เศรษฐกิจ
การปรับตัวต่อความเครียด
การแก้ไขที่ปัญหา
การเผชิญปัญหา
วางแผนแก้ไขปัญหา
การแก้ไขอารมณ์ที่เป็นทุกข์
การทำสมาธิ
การจินตนาการไปในทางบวก
การนอนหลับ
การออกกำลังกาย / การฝึกการหายใจ / การนันทนาการ
ลักษณะทางอารมณ์และจิตใจ
อารมณ์เหงา
ภาวะซึมเศร้า
การนันทนาการ(Recreation)
ประเภทกิจกรรมนันทนาการ
กิจกรรมนันทนาการเกม กีฬา และ การละเล่น
กิจกรรมนันทนาการศิลปหัตถกรรม และงานฝีมือ
กิจกรรมนันทนาการการร้องเพลง และดนตรี
กิจกรรมนันทนาการเข้าจังหวะและ การเต้นรำ
กิจกรรมนันทนาการด้านภาษาและ วรรณกรรมเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมปัญญาความคิด
กิจกรรมนันทนาการการแสดงและ การละคร
กิจกรรมนันทนาการกลางแจ้งนอก สถานที่หรือนอกเมือง
กิจกรรมที่จัดขึ้นในโอกาสพิเศษ
กิจกรรมนันทนาการอาสาสมัครและบริการ รวมกลุ่มผู้สูงอายุที่มีความต้องการบำเพ็ญประโยชน์ ต่อสังคม
ประโยชน์
ด้านร่างกาย : ร่างกายแข็งแรง อายุยืน ป้องกันโรค
ด้านจิตใจ : สนุกสนานเพลิดเพลิน
ด้านสังคม : กระตุ้นให้มีส่วนร่วมในสังคม
ด้านสติปัญญา : ฝึกให้สมองได้คิดวางแผน
การจัดสิ่งแวดล้อม (Environment)
ตัวบ้าน ควรเป็นบ้านชั้นเดียว พื้นเรียบ ไม่ขรุขระและไม่ขัดมันจนลื่น
ห้องน้ำ ควรทำราวเกาะไว้รอบๆ โถส้วมแบบนั่ง
ห้องนอน อยู่ใกล้ห้องน้ำ มีแสงสว่าง อากาศถ่ายเทสะดวก
สวิตช์ไฟ สูงไม่เกิน 3 ฟุต ปลั๊กไฟ สูง 1.5 ฟุต
ลูกบิด แบบงัด ไม่หมุน
หน้าต่าง ไม่สูงเกินไป มองเห็นวิวนอกบ้านได้
บันได ควรติดตั้งราวจับ
ประตูไม่มีธรณี ควรเป็นบานเลื่อนแบบเปิดออก
การตกแต่งภายในบ้านควร มีรูปภาพ รูปถ่ายที่ผู้สูงอายุคุ้นเคย
การมีส่วนร่วมในสังคม (Social Participation)
ประเภทของกิจกรรมการมีส่วนร่วมในสังคม
กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ (Informal activity) ช่วยเหลืองานในครอบครัว พบปะสังสรรค์กับเพื่อน ญาติ
กิจกรรมที่มีรูปแบบ (Formal activity) การเป็นอาสาสมัครเพื่อสังคม ซึ่งเป็นกิจกรรมภายนอกครอบครัว
กิจกรรมที่ทำคนเดียว (Solitary activity) การทำงานในยามว่าง กิจกรรมเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจส่วนตัว และกิจกรรมภายในบ้าน
การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม (Prevention of fall)
ชนิดของการหกล้ม
การล้มแบบพลาดหรือสะดุด
การล้มแบบลื่นไถล
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายในร่างกาย (intrinsic factors)
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากความเจ็บป่วย หรือสภาพของโรค
ปัจจัยภายนอกร่างกาย (extrinsic factors)
พื้นที่มีลักษณะไม่ปลอดภัย
สิ่งก่อสร้างที่ไม่เหมาะสม
แสงสว่างที่ไม่เหมาะสมในที่พักอาศัย แสงสลัว
เครื่องเรือนที่ไม่เหมาะสม
เครื่องแต่งกายและอุปกรณ์ช่วยในการเคลื่อนไหวที่ไม่เหมาะสม
ปัจจัยเสี่ยงในกรณีที่ผู้สูงอายุเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
ปัจจัยเสี่ยงภายนอก (environtment factors)
ปัจจัยเสี่ยงภายนอก (environtment factors)
ปัจจัยเสี่ยงภายในที่ไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า (unanticipated physiological factors)
ผลกระทบของการหกล้ม
ผลกระทบต่อร่างกาย ได้แก่ การเสียชีวิต การบาดเจ็บ กระดูกหัก
ผลกระทบทางด้านจิตใจ ได้แก่ ความวิตกกังวล ความกลัว
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
แนวทางป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
การส่งเสริมสุขภาพ
การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การปรับพฤติกรรมส่วนตัว
ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม
นางสาวสิรินทรา ปะระทัง 621201167