Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว, นางสาวเปรมฤดี บัวนุภาพ…
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว
Tetralogy of Fallot (TOF)
ความหมาย
มีความผิดปกติแต่กำเนิดหลายอย่างที่พบได้ตั้งแต่แรกคลอดทันทีซึ่งความพิการมีความผิดปกติ 4อย่าง ได้แก่
Ventricular Septal Defect : VSD
Pulmonary Stenosis (PS)
หลอดเลือด aorta ค่อนไปทางขวา (Overriding aorta)
Right Ventricular Hypertrophy (RVH) มีการหนาตัวของ ventricle
พยาธิสรีรวิทยา
เนื่องจากมีการอุดกั้น ventricle ขวาจาก PS และมีVSD ดังนั้น จึงมีเลือดลัดวงจรจากขวาไปซ้ายในระดับ ventricle ทำให้หัวใจห้องล่างขวามีการทำงานมากข้ึน
อาการและอาการแสดง
ประมาณ 3 – 6 เดือน ในตอนแรกจะพบว่ามีอาการเขียวเฉพาะเวลาเด็กออกกำลังกาย เช่น ดูดนม ร้องไห้ การเจริญเติบโตช้ากว่า ปกติ
ในเด็กที่เดินได้แล้วมักจะเหนื่อยง่าย เวลาเหนื่อยจะนั่งยองๆ (squatting) เนื่องจากเลือดไหลไป
VSD ลดลง
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ : ตามอาการ/เด็กโตช้า
การตรวจร่างกาย
Lab : พบ Hct/ Hb สูงขึ้น
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก(chest x-ray) : พบหัวใจห้องล่างขวาโต
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ(EKG) : มี ventricle ขวาโต แกน QRS เบี่ยงเบนไปขวา
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiogram) : พบ atrium ขวาโต
การรักษา
การรักษาทั่วไป
ดูแลสุขวิทยาทั่วไป : รักษาสุขภาพฟัน อาหารที่เหมาะสม
ให้ยาป้องกัน infective endocarditis ถ้าผู้ป่วยผ่าตัด หรือถอนฟัน
ป้องกันการเกิดภาวะเส้นเลือดในสมองแตก (cerebrovascular accident : CVA)
รักษาภาวะ anoxic spells โดยการให้นอนท่าknee-chest position
Transpositionof the Great Vessels (TGV)
หมายถึง ภาวะที่ aorta และ pulmonary artery อยู่สลับที่กัน โดยaorta จะออกจากventricle
พยาธิสรีรวิทยา
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกาย(aorta)ออกจาก ventricle ข้างขวาและหลอดเลือดที่ส่งเลือด
ไปรับออกซิเจนที่ปอด (pulmonary artery) ออกจาก ventricle ข้างซ้าย ซึ่งรับเลือดแดงจาก atrium ข้างซ้ายผู้ป่วยจึงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการเขียวต้ั้งแต่ 2 –3วันแรก
หลังคลอด หายใจเร็ว ดูดนมได้ช้า มีหัวใจวาย ตับโต เด็กจะเจริญเติบโตช้ากว่า ปกติ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ: มีอาการเขียว ดูดนมแล้วเหนื่อยง่าย
การตรวจร่างกาย :
พบอาการเขียว มี clubbing finger
พบ systolic ejection murmur
หัวใจเต้น เร็ว โตขึ้น
ตับโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ถ่ายภาพรังสีทรวงอก(chest x–ray) : เงาหลอดเลือดในปอดเพิ่มขึ้น ห้องหัวใจโต
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) : atrium และ ventricleข้างขวาโต ความดันในเส้นเลือดของปอดสูง
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ(echocardiogram)
การรักษา
การรักษาทั่วไป
แนะนำอาหารที่ถูกต้องป้องกันและรักษาภาวะเลือดจาง
ดูแลสุขภาพฟัน
ป้องกันการติดเชื้อเข้าสู่หัวใจและภาวะขาดน้ำ
ให้ออกซิเจน และรักษาภาวะหัวใจวาย
ให้ Prostaglandin ในระยะหลงัคลอดใหม่ๆ จะทำ ให้ductus arteriosus เปิดอยู่
ให้ยา digitalis และ ยาขับปัสสาวะ
การรักษาทางศัลยกรรม โดยการทะลุระหว่างผนังกั้น
นางสาวเปรมฤดี บัวนุภาพ 621001056