Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจสาร - Coggle Diagram
การวินิจสาร
แนวทางพิจาณางานเขียน
พิจารณาความน่าชเื่อเถือของข้อเท็จจริง
พิจารณาความคิดเห็น
การแยกแยะข้อเท็จจริงความคิด
พิจารณาวิธีการนำเสนอเนื้อหา
พิจารณาภาษา
พิจารณาคาวมกลมกลืนส่วนต่างๆ
มีความรู้ทางภาษา สำนวน ต่างๆ
รู้จักส่วนต่างๆของหนังสือ
รู้จักวิธีอ่านหนังสือถูกต้องตามประเภท
รู้จักเลือกหนังสือ ดีไม่ดี
รู้จักแหล่งของหนังสือ
รู้ความหมายของการอ่าน
มีพื้นฐานการอ่านที่ดี
รู้แนวทางการจับใจความ
สามารถอ่านสรุปข้อความได้
อ่านได้อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี
อ่านเป็น รู้เรื่อง ตีความ
อ่านเก่ง วิจาร์ณ วินิจฉัย
นำความคิดที่ได้รับจากการอ่านไปใช่ให้เกิดประโยชน์
การจับใจความสำคัญ
ครอบคลุมใจความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นๆ
พิจารณาชื่อเรื่อง
พิจารณาความสำคัญแต่ละย่อหน้า
กรณีมีหลายย่อหน้า จะต้องเรียบเรียง เชื่อมโยง
ขั้นตอนการวินิจสาร
อ่านหรือทบทวนเพื่อวิเคราะห์
การพิจณาจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร
การพิจารณาสาระหลัก
การนำเสนอความคิดเสริม
วินิจสาร คืออะไร
สารคือ ข้อใจความหรือส่วนสำคัญของข้อความนั้น
วินิจ คือ การตรวจตรา พิจารณา
การวินิจสาร คือ การพิจารณาสารที่ผู้ส่งสารออกมาด้วยความใส่ใจ
การจับใจความส่วนรวม
สังเกตวิธีการนำเสนอ ข้อความตัวทึบตัวหนา
ตอบคำถามให้ได้ว่า อะไร ใครทำ ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร
พิจารณาที่ชื่อเรื่องและหัวข้อ
การวางตำแหน่งของใจความย่อหน้า
วางใจความสำคัญอยู่ต้นย่อหน้า
วางใจความสำคัญอยู่ท้ายย่อหน้า
วางใจความสำคัญอยู่กลางย่อหน้า
การสรุป
สารที่ฟังหรืออ่านเป็นสารประเภทใด
มีเนื้อหาโดยย่อว่าอย่างไร
มีลักษณะการใช้ภาษาอย่างไร
การอ่านบทความ
ส่วนท้าย
ส่วนเนื้อเรื่อง
ส่วนนำ
การจับใจความ การเก็บเนื้อความที่เป็นสาระสำคัญ ที่ได้รับรู้จากการฟัง
พื้นฐานสำคัญ 1.ความสามารถทางภาษา 2.จุดมุ่งหมายของการฟังหรืออ่าน
การอ่านเขียนทรรศนะ
เป็นงานเขียนที่ให้ความรู้เป็นหลัีก
จุดประสงค์เพื่อแสดงความรู้สึกของผู้เขียน