Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Heart Failure (ภาวะหัวใจวาย), นางสาวมิสบะห์ จูเกะ 621001069 - Coggle…
Heart Failure (ภาวะหัวใจวาย)
อาการ
ทารกแรกเกิด
พบว่าเกิดได้จาก cardiomyopathy หรือ สาเหตุอื่น นอกหัวใจ เช่นการติดเชื้อรุนแรง น้ำาตาลต่ำ แคลเซียมต่ำ ภาวะซีดมาก
เด็กทารกจะหายใจแรงและเร็วกว่าเด็กปกติอื่นๆ ดื่มมนมได้น้อย เหนื่อยมากขึ้นเวลาดื่ม น้ำหนักขึ้นน้อย เลี้ยงไม่ค่อยโต มีประวัติติดเชื้อ ทางเดินหายใจส่วนล่างบ่อยๆ
อาการทั่วๆไป จะร้องกวนโยเย หงุดหงิด ชอบให้อุ้ม เหงื่อมาก ตัวเล็กไม่สมวัย ชีพจรปลายมือปลายเท้าจะเบาลง แขนขาเย็นชื่น ผิวหนังเป็นสีเทา ๆ
เด็กโต
จะพบว่าเหน
ฝนทาอยง่าย เหนื่อยเวลาเล่น เล่นไม่ได้เท่าเพื่อน functional class เลวลง บวมบริเวณขา ต้องนอนหนุนหมอนสูง (Orthopnea) ลุกขขึ้นมาหอบเหนื่อยตอนกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspnea
ปัสสาวะน้อยลง เลือดไปเลี้ยงไตได้น้อย เส้นเลือดตีบแคบ มีน้ำและเกลือคั่งทําให้น้ำาหนักเพิ่มขึ้นน หนังตาบวม หน้าบวม มือและเท้าบวมหรือ บวมทั้งตัว
ปอดบวมน้ำ ฟังปอดได้ยิน เสียง crepitation ไอเรื้อ รังถ้ามีอาการมากขึ้นนจะเกิดหายใจขัด ปีกจมูกบานและเขียวได้ หัวใจเต้นแรง เหนื่อยง่าย เด็กเล็กจะหายใจแรง ขณะดูดนมและใช้เลลาดูดนมนานกว่าจะหมดขวด อาจสําลักหรอื อาเจียนได้
ความหมาย
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัวให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการในเด็ก มักเกิดจากโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดโดยเฉพาะในวัยทารกและเด็กเล็ก อาจเกิดจากการท่ีกล้ามเน้ือหัวใจไม่แข็งแรง ลิ้นหัวใจต่างๆไม่ปกติ หรือจังหวะ การเต้นของหัวใจผิดปกติไป
พยาธิสรีรวิทยา
หัวใจมีการขยายโต มีพยาธิสภาพที่กล้ามเนื้อหัวใจ ปริมาณเลือดคั่ง และแรงดันเลือดสูงมากกว่าปกติ หัวใจเต้นเร็ว เพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่สูบฉีดไปให้เพียงพอกับความต้องการของเนื้อเยื่อร่างกาย ผลจากหัวใจสูบเลือดไปเลี้ยงร่างกายส่วนปลายไม่พอ ทำให้ชีพจรปลายมือ ปลายเท้าจะเบาลง เกิดหายใจขัด ปีกจมูกบานและเขียวได้ หัวใจเต้นแรง เหนื่อยง่าย เด็กเล็กจะหายใจแรง ขณะดูดนมและใช้เวลาดูดนมนานกว่าจะหมดขวด อาจสำลักหรืออาเจียนได้ มีอัตราเพิ่มของการเผาผลาญและเพิ่มการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ ส่งผลให้หัวใจทำงานเพิ่มขึ้น และเกิดหัวใจวายได้
การพยาบาล
จัดให้นอน Fowler’s position โดยให้ศีรษะสูง 30 องศา หรือในเด็กเล็กให้นอนใน cardiac chair เพื่อลดการทำงานของหัวใจและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ลดความต้องการออกซิเจน
ให้ยาขับปัสสาวะ ลดปริมาณของเหลวในร่างกาย ป้องกันการเกิดปอดบวมน้ำและน้ำคั่งในร่างกายส่วนอื่น ๆ ผลข้างเคียงของยาคือ Hypokalemia และ Metabolic acidosis และบอกถึงภาวะ Digitalis intoxication
3.จํากัดเกลือในอาหาร จํากัดน้ำดื่มและนำเข้าสู่ร่างกายทุกทางเพื่อลดเลือดที่จะไหลเวียนเข้าสู่หัวใจ
ให้ยาDigitalis เพื่อเป็นการเพิ่มแรงบีบของกล้ามเนื้อหัวใจ ทําให้ cardiac output เพิ่มขึ้นเลือดไปสู่ไตเพิ่มขึ้น ทําให้ขับของเสียออกได้ง่ายปริมาตรของเลือดลดลงได้
5.ให้ยาขับปัสสาวะ ลดปริมาณของเหลวในร่างกาย ป้องกันการเกิดปอดบวมน้ำและน้ำคั่ง ในร่างกายส่วนอื่น ๆ ผลข้างเคียงของยาคือ Hypokalemia และ Metabolic acidosis และติดตาม serum electrolyte
ให้ยาขยายหลอดเลือด ลดการบีบตัวของหลอดเลือดในอวัยวะต่างๆ เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ได้ดี และช่วยลดอาการบวม
ให้ sympathominetic amines เช่น Isotroterenol, Norepinephrine และ Glugacon เมื่อเกิด Cardiogenic shock
ดูแลตามอาการ เช่น ให้ออกซิเจนและยาปฏิชีวนะ
สาเหตุ
2.ความผิดปกติของกลัมเนื้อของหัวใจ (myocardial factor) ทําให้ประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจลดลง
3.ความผิดปกติของหัวใจที่ทําให้หัวใจทํางานมากขึ้น เนื่องจามีความดันในเวนตริเคิลสูงกว่าปกติ
4.ความผิดปกติของหัวใจที่ทําให้หัวใจทํางานมากขึ้น เนื่องจากมีปริมาณเลือดในหัวใจเพิ่มมากขึ้น
5.จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ (dysrhythmias ) ส่งผลให้ปริมาณเลือดไหลออกจากหัวใจลดลง
1.เกิดจากโรคหัวใจพิการแต่กําเนิด (congenital heart disease) หรอื cardiomyopathy
6.เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างหรือการทําหน้าของหัวใจ มีผลทําให้หัวใจไม่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
การวินิจฉัย
เงาหัวขลาใจในเอกซเรย์ปอดกว้างขึ้น หัวใจห้องล่างซ้ายหนา หัวใจห้องบนซ้ายใหญ่ขึ้น และพบ diastolic dysfunchin
ตรวจหน้าท้อง
พบว่า มีตับโต
Chest x-ray , electrocargram , echocardi
ตรวจร่างกาย
ฟังเสียงปอด
ในผู้ป่วย HF มักจะมีpulmonary congention เช่น มี crepitation ร่วมด้วย มักจะบ่งบอกภาวะน้ำเกิน
ซักประวัติ
การรักษา
การเพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้ออหัวใจ ลดการทํางานของหัวใจ และเพื่อลดการคั่งของเลือดในระบบหลอดเลือดดํา (venous congestion) ควรได้รับการผ่าตัดหรือสวนหัวใจอุดรูรั่วหรือกลุ่มมีลิ้น หัวใจตีบ
นางสาวมิสบะห์ จูเกะ 621001069