Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินปัสสาวะระยะวิกฤติ,…
บทที่8
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินปัสสาวะระยะวิกฤติ
โรคไตเรื่อรังระยะสุดท้าย ESRD
จัดอยู่ในระยะที่5 ของโรคไตเรื้อรัง
-สูญเสียการทำงานของไตอย่างถาวร โดยมีอัตราการกรองของไตน้อยกว่า 15 มม./นาที/พื้นที่ผิวกาย เมตร2
-ทำให้ไม่สามารถรักษาสมดุลของน้ำ อิเล็กโทรไลต์ กรด-ด่างในร่างกาย
-เกิดการคลั่งของของเสีย (Uremia)
อาการ
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
แผลในปาก เบื่ออาหาร ท้องผูก
ภาวะน้ำเกิน
คันตามผิวหนังเพราะของเสียไม่สามารถขับออกได้
ความดันโลหิตสูง หัวใจวาย น้ำท่วมปอด
เกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น ยาแก้ปวด ยาต้านการอักเสบบางชนิด และยาปฏิชีวนะที่มีผลต่อไต
สาเหตุ
กรวยไตและหน่วยไตอักเสบเรื้อรัง
โรคของหลอดเลือดไปเลี้ยงไตตีบแคบ
มีความผิดปกติของหลอดเลือดฝอย
มีความผิดปกติจากการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของเมตาบอลิซึมที่ส่งเสริมให้เกิดโรค
แนวทางการรักษา 3วิธี
1.การฟอกเลือดด้วยเคคื่องไตเทียม (Hemodialysis)
การพยาบาล
1.ด้านการรับประทานอาหารและดารควบคุมน้ำดื่ม
2.ด้านการออกกำลังกายและการมาฟอกเลือดตามนัด
3.ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4.การฝึกการควบคุมปริมาณน้ำดื่ม
2.การบ้างไตทางหน้าท้อง (Peritoneal dialysis)
3.การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation)
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต
การบำบัดทดแทนไต RRT
1.การฟอกเลือด
การนำเอาเลือดเสียออกจากตัวผู้ป่วยทางหลอดเลือดเทียมไปผ่านตัวกรองเลือดเพื่อแลกเปลี่ยนของเสีย
2.การผ่าตัดต่อเส้นเลือดเทียม
ใช้เส้นเลือดเทียมเชื่อมต่อระหว่างเส้นเลือดเเดงกับเส้นเลือดดำบริเวณแขน
ดูแล AVG, AVF
การฟอกเลือดชนิดต่อเนื่อง CRRT
เป็นการฟอกเลือด 24 ชม.
CRRT ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตต่ำ
ผู้ที่มีโอกาสจะได้รับของเสียจากการขจัดของเสียออกอย่างรวดเร็วด้วยวิธีการฟอกเลือด
การพยาบาล
1.ระยะก่อนรักษา
-การเตรียมพร้อมด้านจิตใจ
-การเตรียมพร้อมด้านร่างกาย
-การเตรียมอุปกรณ์เพื่อนักษา
2.ระยะให้การรักษา
-บันทึกสัญญาณชีพ
-ประเมินอาการแพ้ตัวกรอง อาการหน้ามืด ใจสั่น ปวดหลัง
-สังเกตอาการกรณีเส้นเลือดอุดตันจากฟองอากาศ
3.ระยะสิ้นสุดการรักษา
-เป็นการดูแลสายสวนหลอดเลือดให้สามารถใช้งานได้ในครั้งต่อไปดูแลเหมือนกัน Hemodialysis
คำแนะนำในการดูแล AVF และ AVG
ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำยกแขนสูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อลดอาการบวม
สังเกตอาการผิดปกติหลังการผ่าตัด ได้แก่ ติดเชื้อ ตีบตัน เลือดออก ปวด
โดยปกติจะนัดตัดไหม 10 – 14 วัน
แนะน า Fistula hand-arm exercise 4. แนะนำ Fistula hand-arm exercise ( hand grip exercise ) ให้ผู้ป่วยบริหารทันท
เมื่อไม่มีอาการปวดแผล โดยใช้มือบีบลูกยางร่วมกับการใช้มืออีกข้างกำ ต้นแขนข้างที่ผ่าตัด ท าไปพร้อมกัน ครั้งละ 15 นาที อย่างน้อยวันละ 4 – 6 ครั้ง
ภาวะแทรกซ้อนที่พบขณะฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในหอผู้ป่วยวิกฤต
Disequilibrium syndrome เกิดจากการที่หลอดเลือดของผู้ป่วยมี uria nitrogen มาก การฟอกเลือดทำให้ uria nitrogen ใน
เลือดของผู้ป่วยลดลงอย่างรวดเร็ว
Hypotension มีอาการและอาการแสดงดังนี้ เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว ชีพจรเต้นเร็ว เหงื่อออก ความดันต่ ากว่า 90/60 mmHg คลื่นไส้
Hypoxemia
Bleeding เนื่องจากการใช้ anticoagulant ไม่เหมาะสมและ ขนาดไม่ถูกต้อง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในหอผู้ป่วยวิกฤต
1 ด้านการรับประทานอาหารและการควบคุมนน้ำดื่ม
2 ด้านการออกกำลังกายและการมาฟอกเลือดตามนัด
3 ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4 การฝึกการควบคุมปริมาณน้ำดื่ม
หลักการทำงานของ CRRT ในการจัดการของเหลว
การดูดซับ (Adsorption)
อาจทำให้เกิดข้อจำกัดในการขจัดของ
เสียบางชนิดออกจากเลือด
การกรองแบบ Ultrafiltration
นระหว่างการกรองแบบ Ultrafiltration นั้น การ ขจัดของเสียโดยการน าพาอาจเกิดได้บ้างแต่มีปริมาณ เพียงเล็กน้อย
การพา (Convection)
หรือบางครั้งเรียกว่า solvent drag ใช้ในการขจัดของเสียทั้งที่มี
โมเลกุลขนาดเล็กและใหญ
การแพร่ผ่าน(Diffusion)
วิธีการที่ CRRT ใช้ในการขจัดของเสียที่มีโมเลกุลขนาดเล็กในระหว่างการฟอกเลือด
ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยจากการทำCRRT
Bleeding อาจเกิดจากได้ heparin มากเกินไป
Thrombosis และ Thromboembosis ภาวะแทรกซ้อนในวงจร เส้นเลือดอุดตันภายในหลอดเลือดแดงใหญ
Disconnection วงจรของระบบอาจหลุดได้
Air embolism
ภาวะติดเชื้อ
การขจัดของเสียทางเยื่อบุช่องท้อง (CAPD)
C = Continuous น้ ายาล้างไตจะอยู่ในช่องท้องตลอดเวลา
A = Ambulatory ระหว่างการเปลี่ยนนheยาผู้ป่วยสามารถ
เคลื่อนไหว อย่างอิสระ
P = Peritoneal ใช้ผนังเยื่อบุช่องท้องเป็นตัวกรองของเสีย
D = Dialysis การล้างไตเกิดขึ้นโดยการดึงของเสียและนhน้ำ
CAPD หมายถึง การล้างไตวิธีหนึ่ง ที่อาศัยผนังเยื่อบุ
ช่องท้อง (peritoneum) ทำหน้าที่คล้ายเมมเบรนของตัวกรองฟอกเลือด มีการเปลี่ยนน้ ายาล้างไตวันละ 4 วงจร ( 4 ครั้ง/วัน ) รอบละ 4-6 ชม
นางสาวเจนจิรา มายชะนะUDA6280049