Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด
ความสำคัญของระบบไหลเวียน
เซลล์ของร่างกายจะทำงานอยู่ได้ต้องได้รับออกซิเจนสารอาหารและอยู่สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมระบบไหลเวียนจะทำหน้าที่นำออกซิเจนและสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตไปเลี้ยงเซลล์ที่เป็นส่วนประกอบต่าง ๆ ของร่างกายและนำของเสียกลับบออกมาเพื่อขับออก
Vocabulary to know
Afterload = แรงต้านการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
Aneurysm = การป่งพองของผนังหลอดเลือด
Atherosclerosis = การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Congestion = การคั่งของน้ำหรือเลือดในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
Embolus = ลิ่มเลือด ฟองอากาศ ไขมัน ที่ลอยอยู่ในหลอดเลือด
Infarction = การตายของเนื้อเยื่อจากการขาดออกซิเจน
Ischemia = การได้รับเลือดไปเลี้ยงเลี่ยงไม่เพียงพอ
Orthopnea = เหนื่อย นอนราบไม่ได้
Paroxysmal nocturnal dyspnea = หายใจลำบากขณะนอนหลับเมื่อนอนราบปกตินอน
Plaque = แผ่นนูนที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวของะอวัยวะต่างๆ
Preload = แรงดันในหัวใจห้องล่างซ้ายเมื่อหัวใจคลายตัวเต็มที่
Septum = ผนังกั้น
Stenosis = การตีบแคบของส่วนที่เป็นท่อหรือรู
Varicose = การพองตัวและคดงอ
ส่วนประกอบของหัวใจ
หัวใจแบ่งออกเป็น 4 ห้อง
RIGHT ATRIUM
RIGHT VENTRICLE
LEFT ATRIUM
LEFT VENTRICLE
ลิ้นหัวใจ
Tricuspid valve
Inferior vena cava
Mitral valve
Pulmonary valve
เส้นเลือดนำเลือดเข้า
Superior vena cava
Inferior vena cava
วิธีการประเมินการทำงานของหัวใจ
การฟังเสียงหัวใจ , การจับชีพจร , การวัดความดันโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตประกอบด้วย
หัวใจ (heart) , หลอดเลือดแดง (artery) , หลอดเลือดดำ (vein) , หลอดเลือดฝอย (blood capillary)
ความผิดปกติของหลอดเลือด
การหนาตัวของผนังหลอดเลือดแดง (Artherosclerosis)
ผลกระทบของความผิดปกติของผนังหลอดเลือดต่อสุขภาพ
อวัยวะที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด
หัวใจ
สมอง
ไต
ลำไส้เล็ก
lower extremities แขนขา
ซึ่งเกิดพยาธิสภาพดังนี้
Abdominal aorta / Terminal aorta : เลือดไปเลี้ยงส่วนของ Lower extremities น้อยลง อาจจะพบ gangrene ที่นิ้วหัวแม่เท้า
Coronary artery : Angina pectoris เจ็บหน้าอก, Myocardial infarction กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
Carotid และ Vertebralartery : CVA หรือ Stroke
Renal artery : Hypertension, Renal ischemia
Mesenteric artery: Intestinal Ischemia, Peritonitis
ร่างกายถูกทำลายไปมากน้อยเพียงไร enzyme เหล่านี้ ได้แก่
AST (Aspatate Aminotransferase)
• ALT (Alanine Aminotransferase)
• LDH (Lactate dehydrogenase)
• Creatine kinase บอกกล้ามเนื้อหัวใจตายได้ 80%
• Troponin T บอกกล้ามเนื้อหัวใจตายได้ 100%
หลักการรักษาพยาบาล
หลักการรักษาภาวะ atherosclerosis คือการทำให้ผนังหลอดเลือดบางลงเพื่อเพิ่มงวดของหลอดเลือดโดยการทำผ่าตัดเพื่อดูดเอา plaque ออก (endarterectomy) หรือทำการตัดต่อเส้นเลือด (Surgical bypass) การทำ Balloon angioplasty และการทำ endovascular stent
ผู้ที่มีแนวโน้มว่าจะมีโอกาสเกิดภาวะ atherosclerosis เนื่องจากมีระดับไขมันในเลือดสูงการแนะนำให้ปรับพฤติกรรมสุขภาพใหม่เป็นบทบาทของพยาบาลโดยเน้นการออกกำลังกายการลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆเช่นการสูบบุหรี่การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูงและแนะนำการควบคุมน้ำหนักเป็นต้นนิ
ความผิดปกติในระบบหัวใจและหลอดเลือดที่สำคัญ
ภาวะความดันโลหิตสูง
หมายถึง
ความดันโลหิตตัวบน (Systolic Pressure) สูงกว่า 140 มิลลิเมตรปรอท
ความดันโลหิตตัวล่าง (diastolic Pressure) สูงกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
ชนิดของความดันโลหิตสูง
Primary hypertension หรือ Essential hypertension ชนิดไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งเป็นความดันโลหิตสูง (ประมาณร้อยละ 90)
พยาธิสรภาพ
Genetic defect มีความผิดปกติของไตเองตั้งแต่กำเนิดไม่สามารถ excrete Sodium และน้ำได้
Sympathetic nervous system มี overactivity เพิ่มการหลังของสาร adrenaline และ Noreadrenaline มากกว่าปกติ
Renin angiotensin system
Secondary hypertension ชนิดที่ทราบสาเหตุซึ่งมีสาเหตุจากโรคไต เช่น โรคหลอดเลือดแดงของไตตีบ (renal artery stenosis) สาเหตุจากโรคของระบบต่อมไร้ท่อเช่น Cushing's syndrome, Pheochromocytoma สาเหตุจากระบบประสาทผิดปกติเช่นเนื้องอกในสมองที่สร้าง catecholamine สาเหตุจากเลือดออกในสมองและสาเหตุจากการได้รับยาหรือสารกระตุ้นจากภายนอกทำให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกำเนิด corticosteroid, caffeine, narcotic cocaine และ amphetamine
ปริมาณเลือดที่หัวใจสูบฉีดใน 1 นาที (cardiac output) และแรงต้านทานของหลอดเลือด peripheral resistance)
BP = CO x PR
BP = Blood Pressure
CO = Cardiac Output
PR = Peripheral Resistance
เมื่อมีการเพิ่มของ Cardiac Output และ / หรือการเพิ่มแรงต้านทานของหลอดเลือดจะทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น
Types of Heart Disease
CORONARY ARTERY DISEASE
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
Heart valve
ลิ้นหัวใจพิการ
Cardiac arrhythmia
ภาวะหัวใจล้มเหลว
หัวใจด้านซ้ายล้มเหลว
อาการ
PAROXYSMAL NOCTURNAL DYSPNEA
RESTLESSNES สับสน
CON FUSION
ORTHOPNEA
TACHYCARDIA หัวใจเต้นเร็ว
EXERTIONAL DYSPNEA
CYANOSIS
BLOOD TINGED SPUTUM
WHEEZES
CRACKLES
ไอเป็นฟองชมพู
ELEVATED PULMONARY CAPILLARY WEDGE PRESSURE แรงดันในปอดเปลี่ยน
หัวใจด้านขวาล้มเหลว
FATIGUE ความเหนื่อยล้า
DISTENDED JUGULAR VEINS
อาการเบื่ออาหาร
นิ้วบวม
DEPENDENT EDEMA
ตับโต ม้ามโต
มีน้ำในช่องท้อง
PERIPHERAL VENOUS PRESSURE
ความผิดปกติอื่นๆ ของหลอดเลือด
Venous thrombosis ลิ่มเลือด
Thromboangitis obliterans โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดแดงจากบุหรี่
Aortic aneurysm หลอดเลือดแดงโป่งพอง
Kawasaki's disease
Raynaud's syndrome
Takayasu's disease