Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ระบบทางเดินปัสสาวะระยะวิกฤติ - Coggle Diagram
บทที่ 8 ระบบทางเดินปัสสาวะระยะวิกฤติ
โรคไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease: CKD)
เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตที่สำคัญในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญในระดับโลก
ในปัจจุบันมีแนวโน้มอุบัติการณ์โรคไตเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2560
พบจ านวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจากทั่วโลก 697.5 ล้านคน
ไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
(End Stage Renal Disease)
ผู้ป่วยจะสูญเสียการทำงานของไตอย่างถาวร โดยมีอัตราการกรองของไตน้อยกว่า 15 มิลลิลิตร/นาที/พื้นที่ผิวกาย 1.73 เมตร2
-ทำให้ไม่สามารถรักษาสมดุลของน้ำ อิเล็กโทรไลต์กรด-ด่างในร่างกายได้
-เกิดการคั่งของของเสีย (Uremia)
-มีความผิดปกติเกือบทุกระบบของร่างกาย จำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษาทดแทนไต
มีอาการหลายระบบ
• ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
• แผลในปาก เบื่ออาหาร ท้องผูก
• ภาวะน ้าเกิน
• ความดันโลหิตสูง หัวใจวาย น้ำท่วมปอด
• คันตามผิวหนัง
• โลหิตจาง เลือดออกง่าย
• ชาปลายมือปลายเท้า
• ชัก ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต
การบำบัดทดแทนไต
(Renal replacement therapy, RRT)
วิธีการรักษาที่มีบทบาทท าหน้าที่แทนไตเดิมที่เสื่อมสภาพไปอาจเป็นการรักษาชั่วคราวเพื่อรอไตฟื้นหน้าที่ในภาวะไตวาย
เฉียบพลัน หรือ เป็นการรักษาระยะยาวถาวรในภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การฟอกเลือด
(Hemodialysis)
การนำเลือดออกจากตัว ผู้ป่วยทางหลอดเลือดเทียมไปผ่านตัวกรองเลือดเพื่อแลกเปลี่ยนของเสีย สารน้ำและเกลือแร่ และนำเลือดที่มีของเสียน้อยวนกลับเข้าสู่ร่างกาย
การฟอกเลือดเป็นช่วง (Intermittent hemodialysis)
• โดยทำการฟอกเลือดสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละ 4-5 ชั่วโมง
• รายละเอียดของการเลือกใช้ชนิดและขนาดตัวกรอง น้ำยาฟอกเลือด
และชนิดหลอดเลือดเทียมขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละราย
Conventional intermittent hemodialysis
ใช้เป็นวิธีการมาตรฐานที่ใช้ในผู้ป่วยไตวายทั่วไป ทั้งไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายและไตวาย เฉียบพลันที่มีความเสถียรของระบบไหลเวียนโลหิต
• เป็นวิธีขจัดของเสียโดยอาศัยหลักของวิธีการกรอง (diffusion)และการพา(convection) ในแลกเปลี่ยนของเสียระหว่างเลือดและน้ำยาฟอกเลือด
• ผลสัมฤทธิ์ของการรักษาขึ้นกับปริมาณของเสียที่ถูกขจัดออกและความร่วมมือของผู้ป่วย
Hemodiafiltration (HDF)
เป็นการฟอกเลือดโดยอาศัยหลักการพา (convection) เป็นหลัก และมีการทดแทนสารน้ำที่มีความบริสุทธิ์สูงเข้าสู่ร่างกายระหว่างฟอกเลือดร่วมด้วย
ข้อดีของการฟอกเลือดวิธีHemodiafiltration (HDF)
• ความเสถียรของความดันโลหิตและหัวใจ
• การขจัดของเสียที่มีโมเลกุลขนาดกลางและใหญ่ เช่น b2 microglobulin, indoxyl sulfate เป็นต้น
• ความต้องการยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง (Erythropoietin stimulating agents, ESA) ลดลง
• แก้ไขภาวะทุพโภชาการที่เกิดจากการคั่งของสารพิษจากไตวายได้(5-9)
การฟอกเลือดเป็นช่วงแบบยืดระยะเวลา (Sustained low efficiency
hemodialysis, SLED)
• ใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตค่อนข้างต่ำ หรือ มีแนวโน้มจะเกิดความไม่เสถียรของระบบไหลเวียนโลหิตระหว่างการฟอกเลือด ชนิด intermittent hemodialysis
• มีปริมาณสารน้ำเกินมากแต่ไม่สามารถกำจัดได้ด้วยการฟอกเลือดระยะสั้นได้
• เป็นการฟอกเลือดอย่างน้อยครั้งละ 6-8 ชั่วโมง
• ใช้ขนาดตัวกรองเล็ก ไม่ต้องอาศัยอัตราการไหลของเลือดสูงจึงทำให้มีความเสถียรของระบบไหลเวียนโลหิตดีกว่าวิธีปกติ
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis)
การที่เอาเลือดออกจากร่างกาย ผสมกับเฮพาริน (heparinized blood) เข้ามายังตัวกรองเลือด (dialysis) โดยไหลอยู่คนละข้างกับน้ำยา
ข้อบ่งชี้ในการทำHD
• มีระดับ Cr > 12 mg/dl
• BUN >100 mg/dl
• ภาวะน้ำเกินน้ำท่วมปอดไม่ตอบสนองต่อ diuretic drug
• ภาวะเลือดออกผิดปกติจาก ภาวะยูรีเมียทำให้การทำงานของเกร็ดเลือดบกพร่อง
• มีอาการคลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา
การเตรียมทวารหลอดเลือด
สำหรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ทวารหลอดเลือดชนิดชั่วคราว
(temporary vascular access)
สายสวนเส้นเลือดดำ เพื่อฟอกเลือดชั่วคราวที่คอ(Double lumen venous catheter for temporary access)
ทวารหลอดเลือดชนิดถาวร
(permanent vascular access)
Arteriovenous fistula, AV fistula, AVF
การผ่าตัดต่อเส้นเลือดเทียม (arteriovenous graft, AVG) คือ การผ่าตัดใช้เส้นเลือดเทียมเชื่อมต่อระหว่างเส้นเลือดแดงกับเส้นเลือดดำบริเวณแขน
ภาวะแทรกซ้อนที่พบขณะฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในหอผู้ป่วยวิกฤต
Disequilibrium syndrome
Hypotension
Hypoxemia
Bleeding
Electrolyte disturbance
and cardiac arrhythmias
สาเหตุไตวายเรื้อรัง
1) กรวยไตและหน่วยไตอักเสบเรื้อรัง
2) โรคของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไตตีบแคบ
3) การติดเชื้อหรือมีการอักเสบที่ไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
4) มีความผิดปกติของหลอดเลือดฝอย
5) มีความผิดปกติจากการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ
6) มีความผิดปกติของไตตั้งแต่ก าเนิดหรือจากกรรมพันธุ์
7) โรคที่เกิดจากความผิดปกติของเมตาบอลิสึมที่ส่งเสริมให้เกิด
8) จากสาเหตุอื่น ๆ เช่น ยาแก้ปวด ยาต้านการอักเสบบางชนิด และยาปฏิชีวนะที่มี
ผลต่อไต
แนวทางการรักษาโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
จำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต(Renal
replacement Therapy) เพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ได้
1.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodialysis)
2.การล้างไตทางหน้าท้อง (peritoneal dialysis)
3.การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (kidney transplantation)
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม เป็นภาวะที่ปริมาณน้ำที่เพิ่มขึ้นจากน้ำหนักแห้ง (dry weight) มากกว่า 1 กิโลกรัม/วัน
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในระหว่างการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมสำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำเกิน
• ความดันโลหิตต่ำอย่างรุนแรง
• ตะคริวที่ปวดเกร็งรุนแรง
• ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
อาการและอาการแสดง
• น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว มีอาการบวมเฉพาะที่หรือบวมทั่วตัวบวมกดบุ๋ม ท้องมาน
• ความดันโลหิตสูง ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ หายใจลำบาก มีอาการของน้ำในเซลล์สมองมาก ได้แก่ นอนไม่หลับ ปวดศีรษะคลื่นไส้อาเจียน
การพยาบาล
ด้านการรับประทานอาหารและการควบคุมน้ำดื่ม
ด้านการออกกำลังกายและการมาฟอกเลือดตามนัด
ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
การฝึกการควบคุมปริมาณน้ำดื่ม
การฟอกเลือดชนิดต่อเนื่อง(Continuous renal replacement therapy, CRRT)
การบำบัดทดแทนไตที่ทำต่อเนื่อง 24ชั่วโมง เป็นเวลาหลายวันในหอผู้ป่วยวิกฤต อยู่ในความดูแลของเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วยวิกฤต โดยมีแพทย์หรือพยาบาลหน่วยไตเทียมให้คำปรึกษา
ข้อบ่งชี้ในการเลือกการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง
ผู้ป่วยที่มีปัญหาความดันโลหิต และการเต้นของหัวใจไม่ปกติ
สภาวะการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว เนื่องจากความผิดปกติของหัวใจและระบบหายใจ
มีเลือดออกอย่างรุนแรง จากการผ่าตัด หรือมีข้อบกพร่องของ DIC มีความ
จ าเป็นต้องได้รับเลือดหรือองค์ประกอบของเลือดเป็นจำนวนมาก เพื่อแก้ไขภาวะช็อค
ผู้ป่วยที่มีอวัยวะหลายระบบล้มเหลวและมีภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันร่วมด้วย
มีความผิดปกติของสารเกลือแร่ อิเล็คโทรลัยต์ และความไม่สมดุลของกรด ด่างของร่างกาย
มีภาวะ hypercatabolic อย่างรุนแรง มีผลท าให้เกิดการสะสมของเสีย เช่น ยูรีเมียเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนไม่สามารถแก้ไขด้วยวิธี dialysis ปกติได้
หลักการทำงานของ CRRT ในการจัดการของเสีย
การแพร่ผ่าน(Diffusion)
การพา (Convection)
การกรองแบบ Ultrafiltration
การดูดซับ (Adsorption)
ประโยชน์ของการทำ CRRT
มีการขจัดน้ำและของเสียออกจากผู้ป่วยอย่างช้าๆและต่อเนื่อง ทำให้ปริมาณน้ำเกลือแร่ และภาวะกรดด่างไม่เปลี่ยนแปลง ขึ้นลง
การทำCRRT ขจัดของเสียได้ช้ากว่า intermittent hemodialysis
เนื่องจากมีการขจัดของเสียอย่างต่อเนื่อง
การพยาบาลผู้ป่วยทำ CRRT
ระยะก่อนการรักษา
การเตรียมพร้อมด้านจิตใจ
การเตรียมพร้อมด้านร่างกาย
การเตรียมอุปกรณ์เพื่อการรักษา
2.ระยะให้การรักษา
บันทึกสัญญาณชีพ
ประเมินอาการแพ้ตัวกรอง อาการหน้ามืด ใจสั่น ปวดหลัง ชาตามปลายมือปลายเท้า
สังเกตอาการกรณีภาวะเส้นเลือดอุดตันจากฟองอากาศ ได้แก่ หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก ภาวะขาดออกซิเจน
Lab สังเกต อาการ E,lyte imbalance
Record I/O
ป้องกันการเลื่อนหลุดของวงจร
ระยะสิ้นสุดการรักษา
เป็นการดูแลสายสวนหลอดเลือดให้สามารถใช้งานได้ในครั้งต่อไป
ดูแลเหมือนกับ Hemodialysis
continuous ambulatory peritoneal dialysis
(CAPD)
การล้างไตวิธีหนึ่ง ที่อาศัยผนังเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum) ทำหน้าที่คล้ายเมมเบรนของตัวกรองฟอกเลือด แยกระหว่างส่วนของเลือด (blood compartment) กับส่วนของน้ำยาไต
ข้อบ่งชี้ในการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
1.Uremic symptoms ได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ภาวะรู้สติลดลง สับสน ชัก
Fluid overload ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
E’lyte imbalance K> 7.0 mEq/L
Acic base imbalance severe metabolic acidosis
BUN > 80-100 mg/dl
ข้อห้ามในการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
มีภาวะที่ขัดขวางการไหลของน้ำยาล้างไต เช่น เคยได้รับการผ่าตัดช่องท้องและเกิดผังผืดภายในช่องท้อง
2.ผู้ป่วยที่มีIleostomy, Nephrostomy,Ileal conduit ภาวะเหล่านี้อาจมีความเสี่ยงของการเกิดการติดเชื้อในช่องท้อง
ผู้ป่วยที่มีภาวะปวดเรื้อรัง Degenerative disc disease อาจมีอาการแย่ลงเมื่อเริ่มใส่น้ำยาล้างไตเข้าช่องท้อง
4.มีการติดเชื้อที่ผิวหนังทางหน้าท้องทางช่องท้อง
5.น้ าหนักตัวในผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า 100 กิโลกรัม
ผู้ป่วยมีความผิดปกติของลำไส้
ภาวะแทรกซ้อนจากการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
ภาวะติดเชื้อ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ อาการที่พบ คือ น้ำยาที่ไหลออกมา ขุ่น มีไข้ หรือปวดท้อง
ภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายล้างไตทางช่องท้อง (mechanical complication)
• ปวดท้องช่วงที่ปล่อยน้ำยาเข้า เกิดจาก น้ำยาล้างไตมีอุณหภูมิต่ำ ปล่อยเร็วเกินไป
• ปวดท้องในช่วงที่น้ำยาไหลออก เกิดจากสายอุดตัน
• มีการรั่วของน้ำยาบริเวณปากแผล (leakage)
• น้ำยาล้างไตมีเลือดปน
• แรงดันในช่องท้องสูง
การพยาบาลผู้ป่วยทำ
เมื่อผู้ป่วยผ่านเกณฑ์การคัดเลือก และได้รับการอนุมัติตามสิทธิ์เพื่อทำการล้างไตทางช่องท้อง ผู้ป่วยจะได้รับการส่งต่อให้พบศัลยแพทย์ทางเดินปัสสาวะ เพื่อประเมินหน้าท้องและนัดวันผ่าตัดวางสายล้างไตทางช่องท้อง
เมื่อพ้นระยะ 2 สัปดาห์แล้ว จะเริ่มการฝึกให้ผู้ป่วยและญาติท าการล้างไตทางช่องท้อง และจำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้าน ดังนั้นการพยาบาลจะตั้งแต่ก่อนและหลังผ่าตัดวางสายล้างไตทางช่องท้อง จนกระทั่งจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล