Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว, นางสาวมิสบะห์ จูเกะ 621001069 -…
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว
Tetralogy of Fallot (TOF)
อาการ
ในเด็กที่เดินไดแ้ ลว้ มกั จะเหนื่อยง่าย เวลาเหนื่อยจะนงั่ ยองๆ (squatting) เนื่องจากเลือดไหลไป VSD ลดลงและไปปอดมากข้ึนทำให้อาการเหนื่อยหอบลดลงบางรายเป็นมากจะเกิดภาวะanoxic spells ร่วมด้วยคือ กระสับกระส่าย ร้องกวน หยุดหายใจเป็นพักๆ หายใจแรงลึก ตัวเขียวมากข้ึน อ่อนเพลียเชื่องช้า เล็บมือเล็บเท้าเขียว ตัวและปากเขียวตัวแข็ง ตาเหลือก ไม่รู้สึกตัว ชัก และอาจเสียชีวิตได้ มักพบในช่วงอายุ 2 ปีแรกมักเกิดข้ึนในตอนเช้าหลัง ตื่นนอนในช่วงเช้าหลังกินอาหารหรือ เวลาเบ่งถ่ายอุจจาระหลังดูดนม การไอติดกันหลายคร้ังหรือภายหลังการร้องไห้
เด็กส่วนใหญ่จะมีอาการเมื่ออายุประมาณ 3 – 6 เดือนในตอนแรกจะพบว่ามีอาการเขียว เฉพาะเวลาเด็กออกกำลังกาย เช่น ดูดนม ร้องไห้ การเจริญเติบโตช้ากว่า ปกติ
การวินิจฉัย
echocardiogram
พบ atriumขวาโต ventricle ขวาหนา aorta คร่อม VSD pulmonary valve เล็ก
ตรวจร่างกาย
ปากและเล็บเขียว นิ้วมือและนิ้วเท้าปุ้ม (clubbing finger)
ฟังพบ systolic ejection murmur
น้ำหนัก และส่วนสูงน้อยกว่าปกติ : ตัวเล็ก ผอมกว่าปกติ
การซักประวัติ
ตามอาการ เด็กโตช้า พัฒนาการไม่สมวัย น้ำหนักน้อย
ตรวจ Lab
พบ Hct/ Hb สูงข้ึน
Chest x-ray
พบหัวใจห้องล่างขวาโต pulmonaryartery ที่ไป
ปอดขนาดเล็กกว่าปกติและหลอดเลือดไปปอดลดลง
พยาธิสรีรวิทยา
เนื่องจากมีการอุดกั้น ventricle ขวาจาก PS และมี VSD ดังนั้นจึงมีเลือดลัดวงจรจากขวาไปซ้ายในระดับ ventricle ทำให้หัวใจห้องล่างขวามีการทำงานมากข้ึน เด็กมีอาการเขียวจากการผสมกันของ เลือดท่ีมีระดับออกซิเจนน้อย การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนน้ี ทำให้ร่างกายได้รับเลือดที่มีออกซิเจนต่ำร่างกายจึงมีการทดแทนโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มข้ึน(polycythemia)ทำให้เลือดมีความหนืดมากข้ึน เกิด thrombophlebitis emboli ได้ง่าย
ความหมาย
เป็นโรคหัวใจท่ีมีความผิดปกติแต่กำเนิดหลายอย่างที่พบได้ตั้งแต่แรกคลอดทันที ซึ่งความพิการ 4 ประการของฟาโลท์ มีความผิดปกติ 4 อย่าง
ได้แก่
Ventricular Septal Defect : VSD
Pulmonary Stenosis (PS)
หลอดเลือด aorta ค่อนไปทางขวา (Overridingaorta)
Right Ventricular Hypertrophy (RVH) มีการหนาตัวของ ventricle
การรักษา
รักษาทางศัลยกรรม
ทำการต่อระบบไหลเวียน เพื่อเพิ่ม ปริมาณเลือดไปปอดให้มากข้ึน
รักษาทั่วไป
ป้องกันการเกิดภาวะเส้นเลือดในสมองแตก (cerebrovascular accident : CVA)
ป้องกันการเกิดภาวะเส้นเลือดในสมองแตก (cerebrovascular accident : CVA)
ไม่ปล่อยให้เด็กเกิดภาวะเลือดจางโดยการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก หรือให้เลือด และไม่ให้เด็กเกิดภาวะเม็ด เลือดแดงมากเกินไป
ให้ยาป้องกัน infective endocarditis
ถา้ ผู้ป่วยผ่าตดั หรือถอนฟัน หรือไดร้รับการตรวจพิเศษต่างๆ ซึ่งทำใหเ้เกิดภาวะติดเชื้อเข้าไม่ ไปในระบบไหลเวียนโลหิต
ดูแลสุขวิทยาทั่ว ไป
รักษาสุขภาพฟัน อาหารที่เหมาะสม ให้ได้รับภูมิคุ้มกันตามปกติ
รักษาภาวะ anoxic spells โดยการให้นอนท่า knee-chest position (นอนคว่า ยกกน้ สูงมากกว่าเหยียดแขนขา) เพื่อลดsystemic venous return ให้ออกซิเจนให้ยาPropanolol ซึ่งเป็น Beta adrenergic blocking agent และให้ NaHCO3 1-2 mEq/kg. เข้าหลอดเลือดดาช้าๆ
สาเหตุ
เกิดจากการที่เลือดไหลลัดวงจรจากขวาไปซ้าย (Righttoleftshunt) ได้แก่ TOF (Tetralogy of Fallot)
เกิดจากการที่เลือดแดงและดำไหลปนกัน (mixed blood flow) ที่พบบ่อยได้แก่ TGA หรือ TGV (Transposition of great arteries/vessels)
Transposition of the Great Vessels (TGV)
การวินิจฉัย
ตรวจ Lab
เด็กโต Hb/Hct สูงกว่าปกติ
ซักประวัติ
มีอาการเขียว ดูดนมเหนื่อยง่าย
EKG
atrium และ ventricle ข้างขวาโต ความดันในเส้นเลือดของปอดสูง
Chest x-ray
เงาหลอดเลือดในปอดเพิ่มข้ึนห้องหัวใจโต
ตรวจร่างกาย
มีอาการเขียว มีclubbing finger
Systolic ejection murmur
หัวใจเตเร็ว โตขึ้น ตับโต
echocardiogram
การรักษา
ทั่วไป
ให้ prostaglandin ในระยะหลังคลอดใหม่ๆ จะทำให้ ductus arteriosus เปิดอยู่ต่อไป ทำให้ผู้ป่วยเขียวน้อยลง และให้แพทย์ ทำ atrial spetal defect โดยใช้ balloons catheter
ให้ยา digitis และยาขับปัสสาวะ
แนะนำอาหารที่ถูกต้อง ป้องกันภาวะเลือดจาง ดูแลสุขภาพฟัน
ป้องกันการติดเชื้อเข้าสู่หัวใจ ภาวะขาดน้ำ
ให้ออกซิเจน และรักษาภาวะขาดน้ำ
ทางศัลยกรรม
โดยการทะลุระหว่างผนังกั้น atrium ด้วย balloon เพื่อให้เกิด mixedblood มากข้ึนหรือ ทำผ่าตัด เพื่อให้เกิดทางติดต่อระหว่าง atrium ทั้งสอง เป็นต้น
อาการ
ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการเขียวตั้งแต่ 2–3 วันแรกหลังคลอดหายใจเร็วดูดนมได้ช้า มีหัวใจวาย ตับโต เด็กจะเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ
ความหมาย
ภาวะที่ aorta และ pulmonary artery อยู่สลับที่กันโดย aorta จะออกจาก ventricle ขวา แต่ pulmonary artery ออกจาก ventricle ซ้ายแทน
พยาธิสรีรวิทยา
จากการที่หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกาย (aorta) ออกจาก ventricle ข้างขวา และหลอดเลือดที่ส่งเลือด ไปรับออกซิเจนที่ปอด (pulmonary artery) ออกจาก ventricle ข้างซ้าย ซึ่งรับเลือดแดงจาก atrium ข้างซ้าย ผู้ป่วยจึงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ถ้าไม่มีช่องทางติดต่อให้เลือดทั้ง 2 วงจรมีการผสมกันซึ่งถ้าผสมกัน ไม่เพียงพออาการเขียว(cyanosis)เป็นอาการปรากฏท่ีสาคัญของการมีเลือดผสมไม่เพียงพอ ปัญหาในผู้ป่วย TGV คือ เขียวเรื้อรัง และมีเม็ดเลือดแดงเพิ่มข้ึน ผู้ป่วยอาจจะเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจน ถ้า ไม่ได้รับบการผ่าตัด ส่วนใหญ่จะเสียชีวิตก่อน1ปี ซึ่งสาเหตุการตายที่สำคัญคือ Hypoxemia ดังนั้น ในรายที่มี lefttoright shunt และมี pulmonary stenosis พอเหมาะจะไม่เกิดภาวะหัว ใจวาย สามารถมีชีวติอยู่ได้จนเป็นผู้ใหญ่
สาเหตุ
เกิดจากการที่เลือดไหลลัดวงจรจากขวาไปซ้าย (Righttoleftshunt) ได้แก่ TOF (Tetralogy of Fallot)
เกิดจากการที่เลือดแดงและดำไหลปนกัน (mixed blood flow) ที่พบบ่อยได้แก่ TGA หรือ TGV (Transposition of great arteries/vessels)
การพยาบาล
ดูแลและให้คำแนะนําเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของปากและฟันสม่ำเสมอ แยกเด็กออกจากเด็กป่วยด้วยโรคติดเชื่อต่าง ๆ รวมทั้งจํากัดการเยี่ยมหรือการเข้าใกล้เด็กของผู้ที่เป็นโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
5.สังเกตและบันทึกอาการนําหรือกิจกรรมที่ทําให้กิดภาวะขาดออกซิเจน หรือเป็นลม หมดสติ ซึ่งพบมากขณะออกกําลังกายขณะดูดนมหรือร้องไห้มากๆ
3.ในรายที่มีอาการหายใจลําบากจัดให้นอนศีรษะสูงเพื่อลดความดันในช่องอกและช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น
7.ดูแลให้ได้รับยา Digitalis (Digoxin) ตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียงของยา
4.วัดและบันทึกสัญญาณชีพการเต้นของหัวใจ สีผิว เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของเด็ก
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ไม่มีเสียงรบกวนกระตุ้นเด็ก ให้ได้พักผ่อนอย่างเต็มที่
6.ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรี่เพียงพอสําหรับการเจริญเติบโต ที่สําคัญคืออาหารที่ให้บุตรรับประทานต้องเป็นอาหารที่มี ลดเกลือหรือลดเค็ม
ซักถามและเปิดโอกาสให้บิดา มารดา และผู้ป่วยให้พูดคุยถึงปัญหาและความวิต กกังวล ปลอบโยนให้กำลังใจ ตอบคําถามและให้คำแนะนําที่ถูกต้องเป็นจริงเกี่ยวกับความเจ็บป่วย การวินิจฉัยและการรักษาพยาบาล
2.ในรายที่เกิดภาวะขาดออกซิเจน จัดให้นอนความให้นอนความยกก้นสูง (knee - chest position) เพื่อลดปริมาณเลือดที่กลับสู่หัวใจ
ทารกและเด็กเล็กดูดนมขวด ควรให้นมที่นิ่มและควรให้ทีละเล็กน้อย เพราะอาจมีการเหนื่อยจากการดูด เด็กโตให้อาหารที่มีคุณค่าย่อยง่าย จําพวกอาหารปั่น
นางสาวมิสบะห์ จูเกะ 621001069