Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง - Coggle Diagram
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง
สาเหตุ
โรคหัวใจรูมาติค (Rheumatic Heart Disease)
เกิดภายหลังจากเป็นไข้รูมาติค
มีการเสียหน้าที่ของลิ้นหัวใจไมตรัลเกิดการรั่ว
(regurgitation) หรือตีบ (stenosis) หรือaortic regurgitation ทำให้เกิดหัวใจวายและลิ้นหัวใจผิดปกติอย่างถาวร
อาการและอาการแสดง
อาการทาง major criteria ได้แก่
1.Carditis
Polyarthritis
อาการแสดงทางผิวหนัง
Chorea
อาการทาง minor criteria ได้แก่
Fever
Arthalgia
Previous Rheumatic fever or RHD
increase ESR, C-Reactive protein และ leukocytosis
Prolonged P-R interval
*การวินิจฉัยว่าเป็นไข้รูมาติค ต้องพบว่ามี 2 major criteria ขึ้นไปหรือพบ 1 major ร่วมกับ 2 minor criteria
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย :
พบอาการดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :
-เพาะเชื้อจากคอ ตรวจหา Beta hemolytic streptococcus group A
-Antistreptolysin O (ASO) ในเลือดมากกว่า 320 Todd unit
-ESR (Erythrocyte Sedimentation rate) เพิ่มขึ้น
-C-reactive protein ให้ผลบวก
ภาพรังสีทรวงอก :
พบเงาหัวใจโตกว่าปกติ ปอดบวมน้ำ มีน้ำในช่อง
เยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มปอด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ :
P-R interval ยาวกว่าปกติ T-wave ผิดปกติ
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ :
ช่วยวินิจฉัยการมีน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจ
การรั่ว/ตีบของลิ้นหัวใจ
การรักษา
ให้ยากำจัดเชื้อโรค Beta hemolytic streptococcus ได้แก่ ยา Penicillin, Erythromycin
ให้ยาสำหรับลดการอักเสบ ได้แก่ Salicylate และ Steroid
ให้นอนพัก 2-6 สัปดาห์/เคลื่อนไหวไปมาในห้อง
ถ้ามี Chorea ให้ Phenobarbital, Diazepam
ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้ digitalis ร่วมกับยาขับปัสสาวะเพื่อช่วยในการขยายหลอดเลือด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
-แบบแผนในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การรับประทานอาหาร ความทนทานต่อกิจกรรมต่างๆ
-สิ่งที่ชอบเล่น สิ่งที่เด็กเป็นกังวล
-ประวัติการป่วยด้วยโรคหัวใจของบุคคลในครอบครัว การติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ
-อาการซีด เขียว
-ประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในระยะ 3 เดือนแรก
-ผู้ให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อมีความเจ็บป่วย
การประเมินลักษณะทั่วไป
สีหน้าท่าทาง พฤติกรรม การรับรู้ การสื่อสาร ระดับกิจกรรม
ภาวะโภชนาการ/การมีตัวโตเหมาะสมกับวัย
พัฒนาการเหมาะสมกับวัย
ลักษณะผิดปกติอื่นๆ
การประเมินผิวหนัง
สังเกตสีผิวซีดหรือเขียว
นิ้วปุ้ม ปลายนิ้วกว้างหนา เล็บโค้งนูนออก
มีเหงื่อ ผิวหนังชื้น - บวมรอบดวงตา ใบหน้า มือ เท้า
3.สัญญาณชีพ
การหายใจ นับเต็มเวลา 1 นาที จะหายใจเร็ว ปีกจมูกบาน อกบุ๋ม หายใจลำบาก ไอ
อัตราการเต้นของหัวใจ ความสม่ำเสมอของชีพจร เสียงหัวใจผิดปกติ
ความดันโลหิตซึ่งมักพบว่าสูงกว่าปกติ
4.ทรวงอก
- ลักษณะทรวงอกทั้ง 2 ข้างมีการโป่งนูนของผนังอกโดยเฉพาะด้านซ้าย
5.ช่องท้อง
- ขนาดของตับโต คลำได้ต่ำกว่าระดับชายโครงขวา ท้องมาน
6. ประเมินการทำงานของไต
-สังเกตบันทึกจำนวนปัสสาวะใน 24 ช.ม.
การพยาบาล
1. ดูแลให้ออกซิเจน
เพื่อเพิ่มปริมาณความเข้ม ข้นของออกซิเจนในร่างกายตามแผนการรักษา
2. ดูแลให้นอนในท่าศีรษะสูง
fowler’s positionหรือsemi-fowler’s position การนอนท่านี้จะช่วย ให้ปอดขยายตัวได้เต็มที่ ส่งผลให้การนำออกซิเจนเข้าสู่ ร่างกายมากขึ้น
3. ดูแลให้น้ำและนมตามแผนการรักษา
เพื่อ ป้องกันภาวะน้ำเกินส่งผลทำให้หัวใจทำงานได้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งการบันทึกปริมาณน้ำที่ ผู้ป่วยได้รับ และบันทึกปริมาณปัสสาวะทุกครั้งของการ ถ่ายปัสสาวะเพื่อดูสมดุลน้ำในร่างกาย
4.ดูแลให้ยา
Lanoxin (digoxin) ยากลุ่มนี้ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงาน มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย เพิ่มแรงขับของกล้ามเนื้อหัวใจ ส่งผลให้เลือดออกจาก หัวใจมากขึ้น
5.การบันทึกสัญญาณชีพ
ทุก 1–2 ชั่วโมง หรือทุก4ชั่วโมงแล้วแต่สภาวะและความรุนแรงของโรค ที่ผู้ป่วยเด็กเป็น ทั้งชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจหรือ อัตราการหายใจ หรือความดันโลหิตเป็นสัญญาณชีพที่ สำคัญในการประเมินและติดตามภาวะหัวใจวาย
6.ส่งเสริมสนับสนุนบิดามารดาที่อยู่ดูแลบุตร
โดยให้คำแนะนำการช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด ให้กำลังใจ เป็นระยะๆ ตลอดเวลาที่รักษาในโรงพยาบาล