Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่ภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ …
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่ภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
การบาดเจ็บจากการคลอด
(Birth Injuries)
ก้อนบวมโนที่ศีรษะ
(Caput succedaneum)
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศรีษะ
ใช้V/E
อาการเเละอาการ
การคั่งของของเหลวข้ามรอยต่อ ( suture )ของกระดูกกะโหลกศีรษะ พบได้ข้างใดข้างหนึ่ง
ขอบเขตไม่แน่นอน
ก้อนบวมโนทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
การวินิจฉัย
ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม กดบุ๋ม
กดไม่เจ็บ เคลื่อนไหวได้
พบทันทีหลังคลอด
เเนวทางการรักษา
หายเองไม่ต้องรักษา ประมาณ 2-3 สัปดาห์เเล้วแต่ขนาด
ก้อนโนเลือดศรีษะ
(Cephalhematoma )
สาเหตุ
ระยะคลอดยาวนาน
ศรีษะถูกกดจากช่องคลอด
ใช้ V/E
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะระดับบิลรูบินในเลือดสูง(hyperbilirubinemia)
อาจเกิดการติดเชื้อจากการดูดเลือดออกจากก้อนโนเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติการเบ่งนานหรือใช้สูติหัตถการช่วย
ตรวจร่างกายพบศีรษะทารกก้อนบวมโน
อาการเเละอาการเเสดง
เห็นชัดภายใน 24 ชั้วโมง
ก้อนโนสีดำหรือน้ำเงิน
ขอบเขตชัดเจนไม่ข้ามรอยต่อกระดูกกะโหลกศีรษะ
พบมากบนกระดูก parietal
การรักษา
ก้อนใหญ่
ผ่าออก
ก้อนเล็ก
หายเองให้เวลาหลายสัปดาห์
เลือดออกเยื่อบุนัยตาย
( Subconjunctival hemorrhage )
สาเหตุ
เกิดจากการถูกกดศรีษะขณะที่คลอด
วินิจฉัย
พบมีเลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตาทารกหลังคลอด
หายเองไม่ต้องรักษา 2-3 วัน
อาการ
จุดเลือดออกที่ตาขาว (sclera )
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้าบาดเจ็บ (Facial nerve palsy )
สาเหตุ
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ถูกกดขณะคลอด จากการใช้คีม คลอดยาก
ภาวะเเทรกซ้อน
กระจกตาเป็นแผล corneal ulcer ในข้างที่เป็นอัมพาต
อาการเเละอาการเเสดง
ไม่สามารถเคลื่อนไหวหน้าผาก ปิดตาไม่ได้
ใบหน้าสองข้างไม่สมมาตรกัน
กล้ามเนื้อจมูกเเบนราบ
การรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
จะหายไปเอง 2-3 เดือน
ให้หยอดน้ำตาเทียมเพื่อป้องกันการทำลายจอตา
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย พบอาการเเสดงเส้นประสาทคู่ 7 ได้รับบาดเจ็บ
ซักประวัติ ระยะ 2เคยคลอดยาวนานหรือคีมช่วยคลอด
อัมพาตที่แขน
(Brachial plexus palsy)
สาเหตุ
การทำคลอดไหล่รุนแรง
ทำคลอดศรีษะผิดวิธี
ทำคลอดทารกมีก้นเป็นส่วนนำ
ชนิด
Erb–Duchenneparalysis
cervical nerve 5–6 ได้รับบาดเจ็บ
กล้ามเนื้อ biceps และ brachioradialis ได้รับกระทบกระเทือน
อาการ
ต้นแขนอยู่ในท่าชิดลำตัว (adduction) ไม่การผวา (moro reflex) และยังกำมือ (graspreflex)
Klumpke’sparalysis
C7,8 – T1 ได้รับบาดเจ็บ ทำให้ข้อมืองอบิดเข้าข้างใน
Horner’s syndrome
รูม่านตาหด (miosis)
หนังตาตก (ptosis)
ตาหวำลึก (enophthalmos)
ต่อมเหงื่อที่บริเวณใบหน้าทำหน้าที่ได้ไม่ดี
อาการ
กล้ามเนื้อด้านในได้รับบาดเจ็บทำให้อ่อนแรง
กำมือไม่ได้ แต่ยังมี reflex
Combined หรือTotal brachial plexus injury
C3–C4, C5–T1 ถูกทำลายร่วมกันทำให้อัมพาตกระบังลม (paralysis of diaphragm)
Moro reflex แขนข้างที่มีพยาธิสภาพไม่สามารถยกได้ แต่กำมือได้(graspreflex)
อาการ
กล้ามเนื้อแขนและมือทารกอ่อนแรง ไม่มี reflexs
การรักษา
เริ่มทำ passivemovement เมื่อเส้นประสาทยุบบวม
แขนอยู่นิ่ง partial immobilization
ยึดแขนท่าหัวไหล่ทํามุม 90 องศากับลำตัวหมุนแขนออกด้านนอกแขนส่วนล่างอยู่ในท่าหงาย และฝ่ามือหันเข้าหาใบหน้า
รอทารกอายุ 7-10 วัน
อัมพาตของแขนส่วนล่าง ให้กำผ้านุ่มๆ
อัมพาตทั้งแขน นวดเบาๆและให้ออกกำลังกาย
กระดูกหักในทารก (Fracture)
กระดูกไหปลาร้าหัก
ไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก
ไม่มีmororeflex
เสียงกรอบแกรบ (crepitus)
ไม่เรียบ กล้ามเนื้อหดเกร็ง
การพยาบาล
เน้นการจำกัดการเคลื่อนไหว
การหักของกระดกูแขน(humerus)
หรือกระดูกขา
ได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทำคลอด ผิวสีผิดปกติ
ข้อสะโพกเคลื่อน(hip dislocation)
บวม ทำpassive exercise จะร้องปวด ขายาวไม่เท่ากัน
วิธี Ortolanimaneuver คือวางหัวแม่มือให้อยู่บนต้นขาด้านใน อีก 4 นิ้วอยู่ด้านนอก จับเข่าทารกงอแล้วกางขาออกถ้าได้ยิน เสียง “click” และรู้สึกมีแรงต้านต่อการกางขาออกแสดงว่า มีการเคลื่อนของกระดูกข้อสะโพก
mororefle ทารกไม่มีเคลื่อนไหวแขนข้างที่หัก
การรักษา
อยู่นิ่งนานอย่างน้อย 2–4สัปดาห์
กระดูกต้นแขนเดาะใช้ผ้าตรึงแขนติดลำตัว
incomplete fracture รักษาโดยการใส่เฝือกขา
completefractureรักษาโดยการใช้แรงดึง Bryant’ tractionนาน 2 – 3 สัปดาห์
human position 1-2 เดือน
ข้อวินิจฉัย
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องเนื่องจากเนื้อเยื่อและเส้นประสาทบาดเจ็บเนื่องจากการคลอดยาก
การพยาบาล
ทบทวนบันทึกประวัติการคลอดการตรวจร่างกายระบบประสาท
ประเมินการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่บาดเจ็บแรงของกล้ามเนื้อท่าทางความเจ็บปวด
จัดท่าให้ถูกต้องโดยใช้ผ้าอ้อมม้วนวางรองให้ทารกนอนตะแคงข้างที่ไม่มีการบาดเจ็บ
ใส่เสื้อผ้าและสัมผัสทารกอย่างนุ่มนวลหลีกเลี่ยงการวางของทับส่วนที่ทารกบาดเจ็บ
ให้ส่วนที่หักนิ่งเช่นถ้ากระดูกไหปลาร้าหักให้ใช้ผ้าอ้อมพันรอบหน้าอกเพื่อไม่ให้แขนที่บาดเจ็บเคลื่อนไหว
สอนครอบครัวดูแลทารกโดยไม่ให้ออกแรงตรงอวัยวะที่บาดเจ็บ
ประเมินอาการอัมพาตที่ใบหน้าเพื่อดูความสามารถในการดูดการกลืนช่วยเหลือในการให้นมการประคองทารกหยอดน้ำตาเทียมหรือสารหล่อลื่นข้างที่ไม่สามารถปิดตาได้
ช่วยทารกออกกำลังกล้ามเนื้อข้างที่มีภาวะ Erb s palsy ทุก 2- 4 ชม.
เข้าเฝือกข้างที่มี Erb s palsy ประเมินการไหลเวียนเลือดและผิวหนังทุก 2 ชั่วโมง
สอนครอบครัวในการช่วยทารกออกกำลังกล้ามเนื้อแขนที่เข้าเฝือก
กระตุ้นครอบครัวในการอุ้มและกระตุ้นทารก
ให้ข้อมูลเรื่องการบาดเจ็บระยะเวลาที่หายเป็นปกติและส่งต่อได้ถ้าจำเป็น
ภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
**การพยาบาล
ประเมินทารกโดยวางใต้ radiant Warmer ที่มีแสงสว่างเพียงพอ
สังเกตท่าทางการนอนของทารกดูความสมดุลของการงอแขนขาการเคลื่อนไหวประเมินสีผิวอาการฟกช้ำจุดเลือดรอยถลอกและแผลฉีกขาด
4.ประเมินลักษณะรูปร่างท่าทางและการเคลื่อนไหวของคอและศีรษะ
5.คลำดูการเกยกับของกะโหลกศีรษะก้อนบวมน้ำบวมเลือดที่ศีรษะกะโหลกศีรษะแตกและคลำกระหม่อม
ประเมินความสมดุลของกล้ามเนื้อใบหน้าการกระพริบตาการขยายของรูม่านตาและรีเฟล็กซ์ต่างๆ
ประเมินภาวะเลือดออกใต้เยื่อบุตา
ประเมินความโล่งของรูจมูก
ประเมินความสมดุลในการเคลื่อนไหวของแขนขาคลำกระดูกไหปลาร้าบันทึกหากมีการหักหรือเกยกัน
ประเมินประสิทธิภาพในการขยับนิ้วมือนิ้วเท้า
ประเมินขนาดรูปร่างการยืดขยายของหน้าท้องฟังเสียงลำไส้เคลื่อนไหว
ประเมิน Moro Reflex Barbinski Reflex และการคดงอของกระดูก
บันทึกสิ่งผิดปกติที่ตรวจพบและรายงานแพทย์
ช่วยเหลือส่งตรวจเพิ่มเติมเช่นเอกซ์เรย์, อัลตราซาวนด์, ซีทีสแกนเป็นต้น
อธิบายกับบิดามารดาเรื่องการบาดเจ็บของทารกและให้ความมั่นใจว่าการบาดเจ็บจะสามารถหายได้เอง
บันทึกอาการเปลี่ยนแปลงทุกเวรว่าอาการดีขึ้นหรือมีภาวะแทรกซ้อน
ทบทวนประวัติการฝากครรภ์และการคลอดก่อนการประเมินร่างกายทารก
สมองเนื่องจากสมองได้รับเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงน้อยลงเนื่องจากร่างกายมีภาวะขาดออกซิเจนแรงดันภายในสมองเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากมีเลือดออกในสมอง
การพยาบาล
1.จำแนกความเสี่ยงของทารกการ
2.แรกคลอด ประเมินการหายใจการเต้นของหัวใจ สีผิวและช่วยเหลือกู้ชีพทารก
3.จดบันทึกคะแนนแอปการ์และค่าแก๊สในเลือดที่สายสะดือทารก
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
5.บันทึกค่า Sa02, TcO2 และ ABGs
ดูดมูกในทางเดินหายใจเมื่อจำเป็นและให้ออกซิเจนทุกครั้ง
7.จัดท่าให้ทารกนอนศีรษะสูงลำคอตรง
8.ประเมินการโป่งตึงของกระหม่อมหน้าสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมระดับความรู้สึกตัว
9.รักษาอุณหภูมิของร่างกายและกลูโคสให้อยู่ในระดับปกติโดยให้นมโดยเร็วเมื่อแรกเกิดหรือให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินความดันโลหิตชีพจรสีผิวการไหลเวียนของเลือดที่อวัยวะส่วนปลายและฮีมาโตคริต
ช่วยเหลือในการตรวจวินิจฉัยโรค
ให้ยาตามแผนการรักษา
ให้ข้อมูลให้กำลังใจและช่วยเหลือครอบครัวในการดูแลทารก
ส่งต่อให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องเมื่อกลับบ้าน
บันทึกปริมาณน้ำที่เข้า-ออกจากร่างกายทุกชั่วโมง
สังเกตอาการนำของการชัก