Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
bipolar disorders - Coggle Diagram
bipolar disorders
ระยะ hypomania
-
- มีความคิดเปลี่ยนเร็ว (Fight of idea)
- พูดมากกว่าปกติพูดไม่ยอมหยุด
-
- ร่วมกิจกรรมที่ทำให้เกิดความพึงพอใจมากเกินควร เช่น ใช้จ่ายเงินอย่างพุ่มเฟือย มีการลงทุนธุรกิจโดยขาดการพิจารณาอย่างความต้องการทางเพศเพิ่มขึ้น
- ประเมินค่าตนเองว่ามีความสำคัญ (grandiosity)
C. ระยะที่มีอาการสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ซึ่งไม่ใช่ลักษณะประจำของบุคคลนั้น
ขณะไม่มีอาการอย่างเห็นได้ชัด
B. ในช่วงดังกล่าวมีอาการที่ผิดปกติไปจากเดิมดังต่อไปนี้อย่างน้อย 3 อาการ หรือหากมีอารมณ์เป็น
แบบหงุดหงิดโกรธง่ายต้องมีอาการอย่างน้อย 4 อาการจาก 7 อาการ ดังนี้
-
A มีอาการสนุกสนานรื่นเริงผิดปกติ หรือมีอารมณ์หงุดหงิดโกรธง่ายผิดปกติอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับมี
กิจกรรมหรือมีพลังเรียวแรงเพิ่มขึ้น เป็นเกือบทุกวัน เกือบทั้งวัน นานอย่างน้อย 4 วัน
-
- มีกิจกรรมมากเกินผิดปกติ เช่น การพบปะสังสรรค์ พฤติกรรมพลุ่งพล่านไม่อยู่กับที่
-
ระยะซึมเศร้า
- ทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันช้าลง เคลื่อนไหวช้าลง
- มีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย หรือไม่มีแรง
- นอนไม่หลับหรือหลับมากเกือบทุกวัน
- มีความรู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่า หรือรู้สึกผิดมากเกินไป
- น้ำหนักลดลงหรือเพิ่มมากขึ้น
- สมาธิหรือความสามารถในการคิดหรือตัดสินใจลดลงเกือบทุกวัน
- ความสนใจหรือเพลินใจในกิจกรรมปกติที่เคยทำทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก
- คิดเรื่องตาย คิดอยากตายซ้ำๆ
- มีอารมณ์เศร้าแทบทั้งวัน เกือบทุกวัน ทั้งที่ตัวเองรู้สึกและผู้อื่นสังเกตเห็น
-
A. มีอาการดังต่อไปนี้อย่างน้อย 5 อาการ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในช่วงไม่ต่ำกว่า 2 สัปดาห์ โดย
ต้องมีอาการดังข้อ 1 หรือ 2 อย่างน้อย 1 ข้อ ดังนี้
-
ระยะ mania
- พูดมากกว่าปกติพูดไม่ยอมหยุด
-
-
- ประเมินค่าตนเองว่ามีความสำคัญ (grandiosity)
- มีกิจกรรมมากเกินผิดปกติ เช่น การพบปะสังสรรค์
B. ในช่วงดังกล่าวมีอาการที่ผิดปกติไปจากเดิมดังต่อไปนี้อย่างน้อย 3 อาการ หรือหากมีอาการแบบหงุดหงิดโกรธง่ายต้องมีอาการอย่างน้อย 4 อาการจาก 7 อาการ ดังนี้
- ร่วมกิจกรรมที่ทำให้เกิดความพึงพอใจมากเกินควร ใช้จ่ายเงินอย่างพุ่มเฟือย มีการลงทุนธุรกิจโดยขาดการพิจารณาอย่างรอบคอบ
A. การสนุกสนานรื่นเริงผิดปกติ หรือหงุดหงิดโกรธง่ายผิดปกติอย่างต่อเนื่อง มีพลังเรี่ยวแรงเพิ่มขึ้น เป็นเกือบทั้งวัน เกือบทุกวัน นานอย่างน้อย 1 สัปดาห์**
C. รุนแรงจนส่งผลให้การทำหน้าที่ต่างๆ ทั้งด้านการงาน สังคม รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเสียไป หรือต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดต่อตนเองหรือผู้อื่น หรือมีอาการทางจิตร่วมด้วย
-
-
cyclothymic disorders
-
-
B. ในช่วงเวลาดังกล่าวต้องมีช่วงที่มีอาการ hypomania รวมกับช่วงที่มีอาการซึมเศร้า รวมแล้วอย่างครึ่งหนึ่งของระยะเวลาทั้งหมด และไม่มีระยะเวลาที่เป็นปกติ/ไม่มีอาการนานกว่าครั้งละ
-
A. มีช่วงที่มีอาการของ hypomania อยู่มาก แต่ไม่ครบตามเกณฑ์ของระยะ hypomania และมีช่วงที่มีอาการซึมเศร้าซึ่งไม่เข้าเกณฑ์ระยะซึมเศร้า นานอย่างน้อย 2 ปี
F. อาการเหล่านี้ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานอย่างมีนัยสำคัญทางการแพทย์หรือทางสังคม การงานหรือหน้าที่สำคัญในด้านอื่นๆ บกพร่องไป
การรักษา
- การให้คำปรึกษา (counseling)
- การทำจิตบำบัด (psychotherapy)
- การให้สุขภาพจิตศึกษา (psychoeducation)
- การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy)
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
-
-
-
วิเคราะห์ 4 P
- precipitating ปัจจัยกระตุ้น มีความเครียดด้านการงาน ไม่มงานทำ, ปรับตัวเข้ากับปัญหาไม่ได้, ดื่มสุรา, หยุดยาเอง, ทะเลาะกับพี่สาว
- perpetuation ปัจจัยคงอยู่ ยังมีความเครียดอยู่, ยังใช้สารเสพติดอยู่
1 predisposing ปัจจัยนำ ผู้ป่วยมีการเสพยามานานมากกว่า 10 ปี, มีฐานะที่ยากจนตั้งแต่เกิด, อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการเสพยาตั้งแต่
- protective ปัจจัยปกป้อง ยังได้รับการช่วยเหลือจากครอบครัวอยู่, ผู้ให้ความร่วมมือในการรักษา
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
-
-
- Depakine 500 mg oral 1 tab hs.
-
เปรียบเทียบทฤษฎี
ฟร่อยด์เชื่อว่ามนุษย์มีสัญชาติญาณติดตัวมาแต่กำเนิด พฤติกรรมของบุคคลเป็นผลมาจากแรงจูงใจหรือแรงขับพื้นฐานที่กระตุ้นให้บุคคลมีพฤติกรรม
- ขั้นปาก (oral stage) ทารกจะได้รับความพอใจจาก สัมผัสทางปากเป็นสำคัญ เช่น ดูดนม ดูดนิ้ว สัมผัสด้วยความรัก เด็กได้รับการตอบสนองที่เหมาะสม มีความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับตนเองและสภาพแวดล้อม
ถ้าการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม ขาดความรักความอบอุ่น จะทำให้ปัญหาในบุคคล เช่น การดูดบุหรี่หรือดื่มสุรามากเกินไป ชอบรับประทานจุกจิก ชอบนินทาว่าร้ายคนอื่น ชอบพูดจาเยาะเย้ยถากถางก้าวร้าว ผู้ป่วยอารมณ์คลุ้มคลั่ง มักจะจินตนาการว่าตนเอง เป็นคนเดียวกับคนที่เก่งมากๆ จินตนาการแบบนี้ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีอำนาจมีความสามารถทุกด้าน
ประเภท
bipolar I disorders
-
-
ผู้ป่วยมีอาการในระยะ mania ครั้งเดียว หรือมากกว่า และมักมีอาการซึมเศร้าร่วมด้วยครั้งเดียวหรือมากกว่า
bipolar II disorders
-
-
โรคซึมเศร้าอย่างน้อย 1 ครั้ง และมีหรือเคยมีอาการในระยะ hypomania อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยไม่เคยมีอาการในระยะ mania
D. อาการของภาวะซึมเศร้า หรือการเปลี่ยนแปลงระหว่างระยะซึมเศร้ากับ hypomania ที่เกิดขึ้นบ่อยหรือคาดเดาไม่ได้