Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจและครอบครัว - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจและครอบครัว
การป้องกันโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
การให้ความรู้เพื่อป้องกันโรค
ANC การฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
การรับประทานอาหารที่เหมาะสมเพื่อบำรุงทารกในครรภ์
ให้คำแนะนำ : ป้องกันหัดเยอรมันก่อนตั้งครรภ์ 3 เดือน
สังเกตอาการของโรคหัวใจในทารกแรกเกิด
เช่น เหนื่อยง่ายเมื่อดูดนม การเจริญเติบโตช้า ตัวเขียว หย่าเครื่องช่วยหายใจไม่ได้
ดูแลเด็กที่ป่วยในโรงพยาบาล
ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะ HF
ประเมินความเครียดผู้ปกครอง
ดูแลด้านการเจริญเติบโต
ให้เด็กและครอบครัวทราบถึงแนวทางการรักษา
ประสานงานกับแพทย์ ให้ข้อมูลผู้ป่วย เป็นการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย
ดูแลผู้ป่วยก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดหัวใจ
แจ้งให้ผู้ปกครองทราบถึง ลักษณะโรค ภาวะแทรกซ้อน และลักษณะการผ่าตัด
ดูแลด้านจิตใจของพ่อแม่
การวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วย
การรับรู้ถึงโรคที่เป็น ลักษณะของโรค
การปฏิบัติตัวที่บ้าน
อธิบายยาที่ผู้ป่วยใช้ขณะที่อยู่โรงพยาบาล และที่บ้าน แนะนำการประเมินข้อแทรกซ้อนจากยา ที่ต้องแนะนำให้พ่อแม่ทราบ
การดูแลสุขภาพทั่วป
การได้รับวัคซีน ภูมิคุ้มกันโรค
นัดหมาย การเข้าพบแพทย์ ตามแผนการรักษา
ด้านอาหาร แนะนำให้ได้รับอาหาร นม ที่เหมาะสมกับโรค ทั้งทางคุณค่าทางโภชนาการและปริมาณ
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
การประเมินสภาพ
การประเมินผิวหนัง
สังเกตสีผิวซีดหรือเขียว
นิ้วปุ้ม ปลายนิ้วกว้างหนา เล็บโค้งนูนออก
มีเหงื่อ ผิวหนังชื้น - บวมรอบดวงตา ใบหน้า มือ เท้า
ทรวงอก
ลักษณะทรวงอกทั้ง 2 ข้างมีการโป่งนูนของผนังอก
โดยเฉพาะด้านซ้าย การเคลื่อนที่ของทรวงอก
การประเมินลักษณะทั่วไป
สีหน้าท่าทาง พฤติกรรม การรับรู้ การสื่อสาร ระดับกิจกรรม
ภาวะโภชนาการ/การมีตัวโตเหมาะสมกับวัย
พัฒนาการเหมาะสมกับวัย
ลักษณะผิดปกติอื่นๆ
สัญญาณชีพ
การหายใจ นับเต็มเวลา 1 นาที จะหายใจเร็ว ปีกจมูกบาน อกบุ๋ม หายใจลำบาก ไอ มีRetraction การดึงรั้งอก ฟังเสียงหัวใจมีเสียงMurmur
อัตราการเต้นของหัวใจ ความสม่ำเสมอของชีพจร เสียงหัวใจผิดปกติ
ความดันโลหิตซึ่งมักพบว่าสูงกว่าปกติ (COA)
การซักประวัติ
แบบแผนในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การรับประทานอาหาร ความทนทานต่อกิจกรรมต่างๆ
สิ่งที่ชอบเล่น สิ่งที่เด็กเป็นกังวล
ประวัติการป่วยด้วยโรคหัวใจของบุคคลในครอบครัว การติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ
อาการซีด เขียว
ประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในระยะ 3 เดือนแรก
ผู้ให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อมีความเจ็บป่วย
ช่องท้อง
ขนาดของตับโต(แสดงภาวะHF) คลำได้ต่ำกว่าระดับชายโครงขวา ท้องมาน
ประเมินการทำงานของไต
สังเกตบันทึกจำนวนปัสสาวะใน 24 ช.ม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาระบบหัวใจ
ปัญหาที่2: ความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากความไม่สมดุลระหว่างความต้องการออกซิเจนของร่างกายกับปริมาณออกซิเจนที่มีอยู่
ปัญหาที่3: อาจได้รับอาหาร น้ำและแคลอรี่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากภาวะหอบเหนื่อยง่าย/มีอาการเบื่ออาหาร จากการที่เลือดไปเลี้ยงระบบทางเดินอาหารน้อยลง
ปัญหาที่1: เนื้อเยื่อต่างๆ มีโอกาสเกิดภาวะขาดออกซิเจนเนื่องจากความผิดปกติของหัวใจ ทำให้ร่างกายได้รับเลือดที่มีออกซิเจนต่ำหรือหัวใจทำงานหนักเกินไปทำให้ปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง
ปัญหาที่ 4: การเจริญเติบโตและพัฒนาการไม่เหมาะสมเนื่องจากเนื้อเยื่อต่างๆได้รับออกซิเจนและสารอาหารไม่เพียงพอ/จากสภาพของโรคทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมกับบุคคลอื่นได้ตามปกติ
ปัญหาสำคัญ ปัญหาที่ 5: เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อระบบทางเดินหายใจได้ง่ายเนื่องจากมีการคั่งของน้ำในปอด/ความสามารถในการต้านทานโรคลง/ปอดขาดประสิทธิภาพในการทำงาน
ปัญหาที่ 6: เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากความผิดปกติของหัวใจได้ง่าย (หัวใจวาย หัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ หลอดเลือดดำอักเสบ) เนื่องจากสภาพทางร่างกายและลักษณะอาการของโรค
ปัญหาที่ 7: เกิดความเบื่อหน่ายจากการถูกจำกัดกิจกรรม
ปัญหาที่ 8: บิดามารดาและผู้ป่วยอาจเกิดความกลัวและวิตกกังวลเกี่ยวกับความเจ็บป่วยเนื่องจากไม่เข้าใจในโรคและแผนการรักษา
Rheumatic Heart Disease
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ Beta hemolytic Streptococci group A ซ้ำ
เสี่ยงต่ออันตรายจากภาวะหัวใจล้มเหลวเนื่องจากลิ้นหัวใจถูกทำลาย