Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
BIRTH ASPHYXIA และการกู้ชีพ - Coggle Diagram
BIRTH ASPHYXIA และการกู้ชีพ
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก ( PERINATAL ASPHYXIA)
Asphyxia หมายถึง ภาวะที่สมองและส่วนต่าง ๆ ของร่างกายขาดออกซิเจนเกิดจากปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง (hypoxemia) เกิดขึ้นในทารกแรกเกิดที่ไม่ร้องหรือมีคะแนน Apgar ต่ำรวมถึงทารกที่มีภาวะ asphyxia ด้วย
• ทารกที่มีfetal distress
• ภาวะ late deceleration
• น้ำคร่ำมีขี้เทา
การวินิจฉัยภาวะ PERINATAL ASPHYXIA
• Fetal monitoring
• การประเมินลักษณะของน้ำคร่ำจากการเจาะถึงน้ำคร่ำ
• Apgar score น้อยกว่า 6
• ตรวจเลือดจากสายสะดือพบการมีภาวะ hypoxemia, hypercarbia และ acidosis
พยาธิสรีรวิทยาเมื่อทารกมีกาวะ ASPHYXIA
•ขาดออกซิเจน
•การหายใจเร็วการหายใจจะหยุดเรียกว่า primary apnea กระตุ้นการหายใจการเต้นของหัวใจจะลดลง
•การหายใจเป็นเฮือก ๆ ไม่สม่ำเสมอประมาณ 4-5 นาที-หายใจเบาลงและหายใจครั้งสุดท้าย (last gasp) หยุดหายใจหัวใจเต้นช้าลง + ความดันโลหิตต่ำลงระยะนี้เรียกว่า Secondary apnea L, PPV
การวินิจฉัยภาวะ: ASPHYXIA
1.Fetal heart rate (FHR) ที่สูงกว่าปกติหรือต่ำกว่าปกติ
2.PH umbitical artery (UA pH) ในทารกแรกเกิดที่ <7.102 เป็นสิ่งที่บอกว่าทารกอาจมีภาวะ asphyxia
3.Apgar scores
ภาวะที่มีขี้เทา (meconium) ในน้ำคร่ำ
อาการทางคลินิกที่พบในทารกแรกเกิดในช่วงหลังทารกเกิด
-การหายใจไม่สม่ำเสมอไม่มีแรงในการหายใจ (หยุดหายใจ) / หายใจเร็ว
-.อัตราการหายใจช้า (bradicardia) / เร็ว (tachycardia)
-ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
.-ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนต่ำ
.-ความดันเลือดต่ำ
แผนภาพแสดงขั้นตอนการชีพทารกแรกเกิดของ NRP 5 ขั้นตอน
-การประเมินเบื้องต้น (initial assessment)
-ทางเดินหายใจ (Airway, A)
-การหายใจ (Breathing, B)
-การไหลเวียนเลือด (Circulation, C)
-การให้ยา (Drug, D)
60 วินาที msn ควรได้รับการดูแลเบื้องต้นประเมินซ้ำและเริ่มช่วยหายใจการหายใจ(ไม่หายใจ-apnea, หายใจหอบ-gasping, หายใจแรงหรือหายใจตามปกติ-labored or unlabored breathing) การเต้นของหัวใจฟังเสียงหัวใจเต้นที่หน้าอก (precordeal pulse) จับชีพจรจากสายสะดือเมื่อมีการทำ POSITIVE-PRESSURE VENTILATION หรือมีการให้ออกซิเจนอัตราการเต้นของหัวใจการหายใจ state of oxygenation Pulse oximeter
VIGOROUSE ตื่นตัวดีประเมินได้จาก 3 ลักษณะดังต่อไปนี้
คลอดครบกำหนดหรือไม่
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดีหรือไม่
หายใจหรือร้องดีหรือไม่
ทีมช่วยฟื้นคืนชีพ 1 คนสามารถทำการกู้ชีพเบื้องต้นการให้ positive-pressure ventilation ได้การกดหน้าอกนวดหัวใจได้
ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของการช่วยหายใจ 6 ขั้นตอน: MR.SOPA
M=Adjust Mask to assure good seal on the face
S=Suction mouth and nose of secretions, if present
O=Open mouth slightly and move jaw forward
P=Increase Pressure to achieve chest rise
A =Consider Airway alternative (endotracheal intubation or laryngeal mask airway)
R = Reposition airway by adjusting head to“ sniffing position
ทารกที่เกิดจากมารดามีใบพบว่ามีความเสี่ยงต่อ
-neonatal respiratory depression
-neonatal seizure
-cerebral palsy
การทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
น้ำคร่ำมีขี้เทาปนแนะนำให้ทำ endotracheal suction อยู่ในทารกที่มีน้ำคร่ำปนขี้เทาและไม่ตื่นตัว (non vigorous)
น้ำคร่ำใสแนะนำ Suction ทันทีภายหลังการคลอด (ด้วย bulb syringe) เฉพาะในทารกที่มีการอุดตันทางเดินหายใจชัดเจนหรือในทารกที่ต้องการ positive-pressure ventilation (PPV) เท่านั้น
การประเมินความต้องการและการให้ออกซิเจน
-ระดับออกซิเจนในกระแสเลือดที่ต่ำกว่าปกติในช่วง 10 นาทีแรกคลอดไม่ได้มีผลเสียต่อทารก
-โดยทั่วไปค่า oxyhemoglobin saturation จะอยู่ที่ 70-80% ในระยะเวลาหนึ่งหลังคลอด
-ส่งผลให้ทารกมีภาวะ cyanosis ได้เป็นปกติ
-การให้ออกซิเจนไม่ว่าจะมากหรือน้อยจนเกินไปล้วน แต่เป็นอันตรายต่อทารก
การกดหน้าอกเพื่อนวดหัวใจ (CHEST COMPRESSION)
อัตราการเต้นของหัวใจที่น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาทีภายหลังได้รับการช่วยหายใจด้วยออกซิเจนที่เหมาะสมนาน 30 วินาที
ตำแหน่งที่กด กดบนกระดูกสันอกที่ 1 ส่วน 3 ทางล่างสุดของกระดูกสันอก
แรงกด กระดูกสันอกยุบลง 1-1.5 ซม.
อัตราการกดสม่ำเสมอ 90 ครั้ง / นาทีการนวดหัวใจ: การหายใจ = 3: 1
. อัตราของการกดต่อการช่วยหายใจเท่ากับ 3:
. กดหน้าอกได้ 90 ครั้งและช่วยหายใจได้ 30 ครั้งรวมเป็น 120 ครั้งใน 1 นาที
.ใช้เวลาห่างของแต่ละครั้งประมาณครึ่งวินาทีผู้กดต้องพูด“ หนึ่งและสอง-และสาม-และบีบ-และหนึ่งและสอง-และสาม-และบีบ โดยช่วงที่นับให้กดหน้าอกไปพร้อมกันเมื่อพูด“ บีบ” ให้บีบ bag ช่วยหายใจ 1 ครั้งทำต่อเนื่องกันไป
.ควรประเมินการหายใจ
. อัตราการเต้นของหัวใจ
.ระดับออกซิเจน
.ทำการกดหน้าอกเพื่อนวดหัวใจควบคู่ไปกับการช่วยหายใจต่อเนื่องไป
.จนกว่าอัตราการเต้นของหัวใจจะมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
.ควรหลีกเลี่ยงเหตุใด ๆ ที่อาจขัดขวางการกดหน้าอกเพื่อนวดหัวใจ
ประสิทธิภาพของการนวดหัวใจ
การคลำ Carotid หรือ femoral pulse
ภาวะไหลเวียนของเลือดบริเวณส่วนปลาย (peripheral circulation)
ขนาดของรูม่านตาซึ่งควรมีขนาดปานกลางหรือหดเล็ก
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา
1.HR <60 ครั้ง / นาทีหลังให้ 02 100% และช่วยนวดหัวใจนาน 30 วินาที
ไม่มีการเต้นของหัวใจ
การดูแลภายหลัง RESUSCITATION
•ติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
• Narcan (Naloxone) (0.4 มก. / มล.) ขนาดที่ใช้ 0.1 มก. / กก. (0.25 ml./kg.) ทางหลอดเลือดดำ / ET-tube / กล้ามเนื้อ / subcutaneous
• Glucose ขนาดที่ใช้ 2 มล. / กก. / ครั้งเข้าทาง umbilical catheter ใช้ในกรณีที่ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกและให้ NaHCO3 แล้วยังมี bradycardia แสดงว่าทารกมีภาวะ hypoglycemia
การยุติการกู้ชีพ
-สามารถยุติการกู้ชีพได้
-ในกรณีที่ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจตั้งแต่แรกคลอด
-ยังคงไม่เต้นต่อเนื่องนาน 10 นาที
แนวทางในการไม่ดำเนินการหรือการยุติการกู้ชีพ
แนวทางในการดูแลทารกที่อยู่ในภาวะถ้ำกึ่งระหว่างความเป็นและความตายหรือในภาวะที่มีแนวโน้มในการเกิดความพิการหรือเสียชีวิตสูงมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับข้อ จำกัด ด้านทรัพยากรในแต่ละพื้นที่