Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME image - Coggle Diagram
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME
การสำลักขี้เทาที่อยู่ในน้ำคร่ำเข้าปอด
GA 24 WKS.ทรวงอกขยับไม่มาก ไม่สม่ำเสมอ ประมาณ 30-90 ครั้ง/นาที
GA 34 WKS. การขยับทรงอกสม่ำเสมอ 40-60 ครั้ง/ นาที
การเคลื่อนไหวไม่หายใจทำให้ lung fluid มีการเคลื่อน tracheobronchial tree ทำให้ lungfluid เคลื่อนจากถุงลมทารกสู่น้ำคร่ำได้
ปกตจิะไม่มีน้ำคร่ำเคลื่อนเข้าสู่ปอดของทารก
จะทำให้เกิดการกระตุ้นให้ทารกหายใจ grasping respiration
ขี้เทาจะมาอยู่น้ำคร่ำเข้าสู่ปอดได้
ขนาดใหญ่ อุดตันหลอดลวขาดออกซิเจนรุนแรง
ทารกที่เสี่ยง
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักต่ำ
คลอดนานทางช่องคลอด
BP สูงขณะตั้งครรภ์
น้ำหนักมากกว่าปกติ
อาการแสดง
MAS มักเป็นทารกที่คลอดครบกำหนดหรือเกินกำหนด
ประวัติ fetal distress
thick mecomium stained amniotic fluid
ความรุนแรง
รุนแรงน้อย
ทารกจะหายใจเร็วเพื่อเพิ่ม minute ventilation
ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของเลือดเข้าสู่ภาวะปกติ
อาการจะหายไปภายใน 24 ชั่วโมง
รุนแรงปานกลาง
มีอาการของการกดการหายใจ หายใจเร็ว ช่องซี่โครงยุบลงขณะหายใจ
เขียวคล้ำ
รุนแรงสูงสุดภายใน 24 ชั่วโมงมักหายได้ภายใน 4-7 วันหากไม่มีอาการแทรกซ้อน
อาการจะค่อยๆทวีความรุนแรง
รุนแรงมาก
หายใจล้มเหลวทันทีหลังคลอดหรือ 2-3 ชั่วโมง
ฟังเสียงปอดได้ rhonchi และ crackle
อาจมีอาการเลือดขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ไม่ดีขึ้นเมื่อให้ออกซิเจนเนื่องจากภาวะของแรงดันเลือดในปอดที่สูงมาก
การรักษา
เตรียมอุปกรณ์ดูดเสมหะ เครื่องมือในการใส่ท่อช่วยหายใจและอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจนให้พร้อม
ใช้ลูกยางแดงดูดทางปากและจมูกเมื่อศีรษะทารกพ้นจากช่องคลอด
รายที่มีขี้เทาที่เหนียวและปริมาณมากจะใส่ท่อช่วยหายใจและดูดขี้เทาออกทางท่อช่วยหายใจ
หลังจากดูดออกหมดแล้วหากทารกไม่หายใจควรให้แรงดันบวกผ่านทางท่อช่วยหายใจ
ดูดขี้เทาจากสายยางให้อาหารผ่านทางจมูกหรือปาก