Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 พระราชบัญญัติวิชาชีพ2528แก้ไข2540, นางสาวพิมพ์ชล ไชยรา เลขที่52…
บทที่4 พระราชบัญญัติวิชาชีพ2528แก้ไข2540
ความหมายวิชาชีพ
กระทำกับมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพรวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรคทั้งนี้อาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล หมายถึงการปฏิบัติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล ครอบครัวและชุมชนโดยการกระทำต่อไปนี้
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการให้คำปรึกษาและกการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคลรวมทั้งการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อแก้ปัญหาความเจ็บป่วย การบรรเทาอากการของโรค การลุกลามของโรคแลการฟื้นฟู
การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรคการช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาลในการประเมินสภาพการวินิจฉัย วางแผน ปฏิบัติและการประเมิน
การพยาบาล/การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ดูและ/ช่วยเหลือมื่อเจ็บป่วย
การส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรค
ช่วยเหลือเเพทย์รักษาโรคฟื้นฟูสภาพ
การผดุงครรภ์
คือการกระทำเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด รวมถึงการตรวจ การทำคลอด การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด รวมทั้งช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค อาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการผดุงครรภ์
ความแตกต่างระหว่างการพยาบาลและการผดุงครรภ์และเวชกรรม
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
วิชาชีพเวชกรรม หมายถึง วิชาชีพที่กระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉย ป้องกันโรค การผดุงครรภ์ การปรับสายตาด้วยเลนสัมผัส การแทงเข็มหรือการฝังเข็มเพื่อบำบัดโรค หรือเพื่อระงับความรู้สึกและหมายความรวมถึงการกระทำทางศัลยกรรม การใช้รังสี การฉีดยาหรือสสาร การสอดใส่วัตถุใดๆเข้าไปในร่างกายทั้งนี้เพื่อการคุมกำเนิด การเสริมสวยหรือการบำรุงร่างกายด้วย
เงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามที่ได้รรับมอบหมายใช้ยาตามบัญชีที่หน่วยงานราชการกำหนดไม่เกินรายการบัญชียาสามัญประจำบ้าน นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้สามารถกระทำได้เป็นรายกรณีโดยอบู่ในดุลยพินิจของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมซึ่งเป็นบังคับบัญชาได้มอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร
การแพทย์แผนไทย คือกระบวนการทางการแพทย์กับการตรวจ วินิจฉัย บำบัดรักษา ป้องกันโรคหรือส่งเสริมฟื้นฟูสุขสภาพของมนุนย์ การผดุงครรภืและการนวดแผนไทย และประดิษฐ์อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ทั้งนี้ อาศัยความรู้หรือตำราที่ถ่ายทอดและพัฒนาสืบต่อมา
กายภาพบำบัดตามกฎหมาย การประกอบวิชาชีพพยาบาลมีการฟื้นฟูสภาพด้วย ดังนั้นไม่เป็นการละเมิดวิชาชีพกายภาพบำบัด
เทคนิคการแพท์ คือวิชาชีพที่กระทำต่อมนุษย์เพื่อให้ได้สิ่งตัวอย่างทางการแพทย์และการดำเนินการโดยวิธีทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการตรวจทดสอบ วิเคราะห์ วิจัยและการรายงานงานผลตรวจเพื่อวินิจฉัย การติดตามการรักษา การพยากรณ์โรคและการป้องกันโรคหรือเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ
ระเบียบกระทรวงพ.ศ.2539 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้น1 การพยาบาลชั้น2 ผู้ช่วยพยาบาล ทำได้ข้อ76 เจาะโลหิตจากปลายนิ้วหรือหลอดเลือดเพื่อส่งตรวจทางห้องทางปฏิบัติการหรือเพื่อบริจาคเข้าธนาคารเลือด
การจ่ายยาผู้ป่วย ตามข้อบังคับสภาว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขการประกอบวิชาชีพมีการรักษาโรคเบื้องต้นด้วย โดยการอบรมเวชปฏิบัติทั่วไปและต้องขึ้นทะเบียนและทำการตรวจวินิจฉัยรักษาตามคู่มือและให้ยาตามคู่มือของสภาการพยาบาลจึงสามารถให้ยาได้ในขอบเขตของคู่มือ
สภาการพยาบาล
เจตนารมณ์ของกฎหมายพรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528 เพื่อความคล่องตัวในการควบคุมและส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ สุขภาพ ให้มีพรบ.ของแต่ละวิชาชีพไม่ต้องรวมกันอยู่ในกฎหมายควบคุมกรประกอบโรคศิลปะ พรบ.วิชชีพการพยาบาลและการผผดงครรภ์แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2540
วัตถุประสงค์ในการมีสภาการพยาบาล
หมวด1 สภาการพยาบาล
มาตรา 6
ให้มีภาการพยาบาลมีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา 7
ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพให้ถูกต้องตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ส่งเสริมการศึกษา การบริการ การวิจัยและความก้าวหน้าในวิชาชีพการพาบาลการผดุงครรภ์หรือการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ส่งเสริมความสามัคคีและการผดุงเกียรติของสมาชิก
ให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาลการผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในไทย
ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่และการให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกับการพยาบาลการผดุงครรภ์และสาธารณสุข
มาตรา 8 สภาการพยาบาลมีอำนาจหน้าที่ดังนี้
รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนเป็นประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ให้ความคิดเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษาของสถาบันการศึกษาที่จะทำการสอนวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ดำเนินให้เป็นปตามวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
รับรองหลักสูตรต่างๆสำหรับนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรของสถาบันที่จะทำการสอนวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
1 more item...
มาตรา 9 สภาการพยาบาลอาจมีรายได้ดังต่อไปนี้
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุงและค่าธรรมเนียมต่างๆ
ผลประโยชน์จากกิจกรรมอื่นของสภาการพยาบาลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดในมาตรา7
เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้ให้แก่สภาพยาบาล ดอกผลของเงินและทรัพย์สินอื่นๆตาม(1)(2)(3)และ(4)
มาตรา 10 ให้รัฐมมนตรีดำรงตำแหน่งสภานายกพิเศษแห่งการพยาบาลและมีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ
กรรมการสภาการพยาบาล
กรรมการสภามาจาก
สมาชิกสามัญสมัครเลือกรับตั้ง
สมาชิกสามัญเลือกสมาชิกสามัญ 16คน
กรรมการจากการแต่งตั้ง ผู้แทนหน่วยงาน16คน
-กระทรวงสาธารณสุข 5คน
-ทบวงมหาวิทยาลัย 4คน
-กลาโหม 3คน
-มหาดไทย 1คน
-กรุงเทพมหานคร 1คน
-สภากาชาดไทย 1คน
-นายกสมาคมพยาบาล 1คน
กรรมการตำแหน่งต่างๆมาได้อย่างไร
-กรรมการเลือกตั้ง16คน กรรมการแต่งตั้ง 16คน รวม32คน ประชุมเลือกตำแหน่งภายใน
วิธีการเลือกตำแหน่งต่างๆ
-ประชาสัมพันธ์และเหรัญญิก
-อุปนายกมาจากกรรมการทุกคนเลือก
-รองเลขาธิการมาจากนายกเลือกกรรมการ
-เลขาธิการมาจากนากยกเลือกสมาชิกสามัญที่มีคุณสมบัติกรรมการ
-นายกมาจากกรรมการทุกคนเลือก
คุณสมบัติของกรรมการ ตามมาตรา 18
-(1)เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
-(2)ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอดใบอนุญาต
-(3)ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
กรรมการที่ปรึกษาคือใครและมีได้กี่คน
-สมาชิกสามัญหรือสมาชิกกิตติมศักดิ์ที่กรรมการเชิญมาเป็นที่ปรึกษามีได้ไม่เกิน 8คน วาระเท่ากรรมการชุดที่แต่งตั้งเข้ามา
วาระของกรรมการมีกี่ปี
-มีวาระ 4ปี อาจได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง แต่ไม่เกิน 2วาระ คือไม่เกิน 8ปี
กรรมการจากการเลือกตั้งสิ้นสุดก่อนครบวาระกระทำอย่างไร
-ให้สมาชิกสามัญเลือกสมาชิกสามัญที่มีคุณสมบัติตามมาตรา 18 เป็นคณะกรรมการแทนภายใน 90วันนับตั้งแต่วันที่ตำแหน่งกรรมการนั้นว่างลง
-ถ้าว่างลงเกิน 8 คนให้กรรมการเลือกสมาชิกสามัญผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 18 เป็นกรรมการแทนภายใน30วัน นับตั้งแต่ที่ตำแหน่งกรรมการนั้นว่างลง ถ้าว่างลงไม่เกิน 8คน
กรรมการแต่งตั้งสิ้นสุดก่อนครบวาระ ทำอย่างไร
-ใหหน่วยงานแต่งตั้งผู้แทนมาใหม่
-เหตุกรรมการสิ้นสุดก่อนครบวาระ
ขาดคุณสมบัติ ตาย ลาออก
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
-เรื่องที่ต้องขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
1.การออกข้อบังคับ
2.การกำหนดงบประมาณของสภาการพยาบาล
3.การให้สมาชิกสามัญพ้นจากสมาชิกภาพ
4.การวินิจฉัยชี้ขาดให้พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
-เรื่องที่ต้องใช้เสียง2/3ของกรรมการทั้งคณะ(22คณะ)
1.ให้พ้นจากสมาชิกสภาพเพราะขาดคุณสมบัติ
2.ยืนยันมติที่สภานายกพิเศษยับยั้งมา
-มติปกติใช้เสียงข้างมาก(ถ้ามา 16คน ต้อง9คนขึ้นไป)
ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียงขี้ขาด ถ้าปกติประธานไม่ออกเสียง
คุณสมบัติของสมาชิกสามัญ
คุณสมบัติสมาชิกสามัญ
-ไม่เป็นผู้มีประพฤติเสียหายที่คณะกรรมการเห็นว่านำมาซึ่งความเสื่อมเสียของวิชาชีพ
-ได้รับปริญญาจากสถาบันที่สภาการพยาบาลรับรอง
-อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี
-ไม่เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
-ไม่เป็นผู้มีจิตฟั่นเฟื่อนหรือเป็นโรคที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาฯ
ข้อบังคับสภาว่าด้วยโรคต้องห้ามมิให้เป็นสมาชิก พ.ศ.2567
-โรคจิตต่างๆ -โรคพิษสุราเรื้อรัง
-ติดสารเสพติดให้โทษร้ายแรง
-โรคอื่นๆที่เป็นอุปสรรค เช่นHIV
คุณสมบัติผู้ประกอบวิชาชีพ
สมัครสมาชิก สมัครสอบความรู้ และสอบผ่าน
จากสถาบันที่สภาฯรับรอง
สำเร็จการศึกษาได้รับปริญญาในไทย
ผู้ประกอบวิชาชีพ
มี 3ประเภท 2ชั้น
ผดุงครรภ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ต้องสอบหลักสูตรผดุงครรภ์อย่างเดียว
พยาบาล ชั้น1 ชั้น2 ต้องสอบผ่าน 7วิชายกเว้นผดุงครรภ์
พยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้น1ชั้น2 ต้องสอบผ่าน 8วิชา หลักสูตรพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลระดับต้น
นางสาวพิมพ์ชล ไชยรา เลขที่52 รหัส63123301100 ห้องB