Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษีเงินได้นิติบุคคล - Coggle Diagram
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล
ผู้มีหน้าที่เสียเงินได้นิติบุคคล
กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางค้า หรือหากำไร
กิจการร่วนค้า
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
นิติบุคคลที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
นิติบุคคลที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี
มูลนิธิ หรือสมาคมที่ตั้งขั้นตามกฎหมายไทย
สหกรณ์
นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายอื่นใด
สภากาชาดไทย
รัฐบาลต่างประเทศ
วัดวาอาราม
องค์การของรัฐบาล
วิธีเสียเงินได้นิติบุคคล
วิธีหักภาษี ณ ที่จ่าย
วิธีประเมินโดยเจ้าพนักงานประเมิน
วิธีประเมินตนเอง
ภาษีเงินได้นิติบุคคลคำนวณยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย
ฐานภาษี
กรณีกิจการขนส่ง
กรณีมูลนิธิหรือสมาคม
การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
กิจการขนส่งระหว่างประเทศของบริษัทหรือนิติบุคคลต่าง
มูลนิธิและสมาคม
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ในเขตกรุงเทพมหานคร
สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่
ธนาคารพาณิชย์ไทยและสาขาในเขตกรุงเทพมหานคร
ในเขตจังหวัดอื่น
ที่ว่าการอำเภอหรือกิ่งอำเภอห้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่หรือ ณ สำนักงานสรรพากรอำเภอ
สำนักงานสาขาของธนาคารพาณิชย์ไทยในเขตอำเภอห้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่
คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
รายได้ตามมาตรา 40 ปี2563
(2) รายได้จากการจ้างงาน
50% แต่ไม่เกิน 100,000 บาท รวมทั้ง (1) และ (2)
(3) เงินจากค่าลิขสิทธิ์ต่างๆ
50% แต่ไม่เกิน 100,000 บาท หรือ ตามจริง
(1) รายได้ประจำ เช่น เงินเดือน
50% แต่ไม่เกิน 100,000 บาท รวมทั้ง (1) และ (2)
(4) เงินได้จากการลงทุน
หักค่าใช้จ่ายไม่ได้
(5) เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน
ที่ดินที่ใช้ในการเกษตร 20%
ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในการเกษตร 15%
บ้าน โรงเรียน สิ่งปลูกสร้าง แพ 30%
ยานพาหนะ 30%
ทรัพย์สินอื่นๆ 10%
(6) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
ประกอบโรคศิลปะ 60%
กฎหมาย วิศวกรรม สถาปัตยกรรม บัญชี ประณีตศีลปกรรม 30%
(7) เงินได้จากการรับเหมา
ตามจริง หรือ อัตราเหมา (60%)
(8) รายได้จากธุรกิจอื่นๆ
ตามจริง หรือ อัตราเหมา (60%)
รายการลดหย่อนภาษี ปี2563
กลุ่มลดหย่อนทั่วไป
บุตร 30,000 บาท (คนที่2เป็นต้นไปเพิมคนละ 30,000-ุ60,000 บาท)
ค่าคลอดบุตร 60,000 บาท
คู่สมรสที่ไม่มีเงินได้ 60,000 บาท
ค่าอุปการะเลี้ยงดู บิดา/มารดา คนละ 30,000 บาท
ลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท
ค่าอุปการะเลี้ยงดู ผู้พิการ/ทุพพลภาพ 60,000 บาทต่อคน
กลุ่มประกันชีวิต
2 ประกันสุขภาพตัวเอง 25,000 บาท
3 ประกันสุขภาพพ่อแม่ 15,000 บาท
1 ประกันชีวิตทั่วไป/ประกันชีวิตสะสมทรัพย์ 10,000 บาท
4 ประกันสังคม 7,200 บาท
กลุ่มการลงทุน
3 กองทุน PVD / กบข. / กองทุนสงเคราะห์ครูฯ 15% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
4 กองทุนการออมแห่งชาติ สูงสุด 13,200 บาท
2 กองทุน RMF 30% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
5 ประกันชีวิตแบบบำนาญ 30% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
1 กองทุน SSF 30% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
กลุ่มกระตุ้นเศรษฐกิจ
1 ดอกเบี้ยบ้าน 100,000 บาท
2 ค่าธรรมเนียมจากการรับชำระเงินด้วยบัตรเดบิต เพิ่ม1เท่าตามที่จ่ายจริง
ตามมาตราการ COVID - 19
1 กองทุน SSF EXTRA 200,000 บาท
กลุ่มเงินบริจาค
2 เงินบริจาคเพื่อการศึกษา การกีฬา การพัฒนาสังคมและโรงพยาบาลรัฐ 2 เท่าของเงินบริจาค ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหักค่าลดหย่อน
3 เงินบริจาคทั่วไป ตามที่จ่ายจริง ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหักค่าลดหย่อน
1 เงินบริจาคพรรคการเมือง ตามที่จ่ายจริง ไม่เกิน 100,000 บาท
คำนวณภาษี SME.
SME
กำไร - 30,000 บาท ส่วนที่เกิน
10% (ถ้าเกิน 3,000,000
20%)
Non SME
กำไร * 20%
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ
1 รายการที่ระบุไว้ในมาตรา 65 ตรี ไม่ให้ถือเป็นรายจ่าย
2 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินให้หักได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขและอัตราที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
3 การตีราคาทรัพย์สิน
4 การโอนทรัพย์สินโดยไม่มีค่าตอบแทน
5 การคำนวณมูลค่าของทรัพย์สินและหนี้สินเมื่อมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ
6 การตีราคาสินค้า
7 การคำนวณราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจากต่างประเทศ
8 การคำนวณราคาทุนของสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ
9 การจำหน่ายหนี้สูญ
10 การคำนวณเงินปันผลเป็นรายได้
11 ดอกเบี้ยกู้ยืมที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่าย ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
12 เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่าย ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
13 มูลนิธิหรือสมาคม
14 ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีบุคคลครึ่งปี
การยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ยื่น ภ.ง.ด. 94 ภายในเดือนกันยายนเฉพาะรายได้ประเภทที่ 5-8
(ปีภาษี) มกราคม - ธันวาคม
เงินเพิ่มร้อยละ 1.5 ต่อเดือน
ยื่นแบบภายใน 7 วัน จำนวน 1,000 บาท
ยื่นแบบช้ากว่ากำหนดเกิน 7 วัน จำนวน 2,000 บาท
ปีถัดไป
ยื่น ภ.ง.ด. 90/91 ภายใน 31 มีนาคม (กระดาษ) หรือ 8 เมษายน (อินเตอร์เน็ต)
รายได้อะไรบ้างที่ต้องยื่นภาษีครึ่งปี
วิชาชีพ 6 ประเภท
รับเหมา (แรง+ของ)
ค่าเช่าทรัพย์สิน
รายได้การทำธุรกิจ
เงินค่าขาย RMF
เงินค่าขาย LTF
เงินได้จากการให้หรือการรับ (ภาษีการรับให้)
วิธีคำนวณภาษีบุคคลครึ่งปี
1 (เงินได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน) * อัตราภาษี
2 เงินได้พึงประเมิน * 0.5%
CIT นิติบุคคล
Tax Base
กำไรสุทธิ
รายได้(ทั้งปี) - คชจ = กำไรสุทธิ
Tax Payer
หสม./บจ./มูลนิธิ/สมาคม/กิจการร่วมค้า/นิติบุคคลต่างประเทศประกอบการในไทย
ภาษีเงินได้นิติบุคคลอย่างง่าย
อัตราภาษีเงินด้นิติบุคคล
อัตราภาษีทั่วไป
20%
SME
ทุน < 5ล้านบาท + รายได้ < 30ล้านบาท→ อัตรา 300,000 /
300,001 - 3,000,000 / 15%
3,000,001 / 20%
ความหมายของรายการปรับปรุง
ค่าใช้จ่ายต้องห้าม
ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายในการคำนวณภาษี
ไม่ใช่รายได้ทางภาษี
สิทธิประโยชน์ในการยกเว้นในการคำนวณภาษี
รายได้ทางภาษี
ถือเป็นรายได้ของกิจการเพื่อคำนวณภาษี
ค่าใช้จ่ายหักได้เพิ่ม
รายจ่ายที่รัฐสนับสนุนสามารถหักเป็นรายจ่ายได้เพิ่ม