Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาหลักสูตรพลศึกษา
เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย
…
การพัฒนาหลักสูตรพลศึกษา
เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ในระดับปฐมวัย
-
-
-
การศึกษาปฐมวัย (Early childhood education) หมายถึง การบริการ การดูแล และการให้การศึกษาแก่ เด็กจากแรกเกิดถึงอายุ 8 ปี โดยจัดเป็นการบูรณาการ ระหว่างการดูแลและการให้การศึกษาแก่เด็กเข้าด้วยกัน เรียกว่า Educare โดยการศึกษาปฐมวัยจะครอบคลุมถึง การดูแลเด็กทารก การดูแลเด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาล (Woodill et.al., 1992)
สำหรับประเทศไทย การศึกษาปฐมวัยหมายถึงการดูแลและให้การศึกษาแก่ เด็กอายุแรกเกิดถึง 6 ปี
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก โดยให้เด็กเรียนรู้ ผ่านการเล่น จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ดูแลด้าน สุขนิสัยและโภชนาการเหมาะสมซึ่งจะช่วยพัฒนา ศักยภาพสมองของเขาได้อย่างเต็มความสามารถ และ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยมุ่งให้เด็กมีพัฒนาทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาท่ีเหมาะสม กับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล (กระทรวงศึกษาธิการ 2546)
การพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน (Fundamental movement skills)
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนท่ี (Locomotors Movement)
- การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ (Manipulative Movement)
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ (Non - locomotors Movement)
- การเล่นเครื่องเล่นสนาม (Playground Apparatus)
ความสำคัญของการวิจัย
-
-
-
วัตถุประสงค์
- เพื่อศึกษาสภาพข้อมูลพื้นฐานในการสร้างหลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย
- เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของหลักสูตรพลศึกษา เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย
- เพื่อสร้างและพัฒนาหลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย
ข้อเสนอแนะ
- ข้อเสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้
ผู้บริหารสถานศึกษาควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาทางด้านร่างกายควบคู่กับการพัฒนาทางด้านวิชาการ ทั้งด้านของบุคลากร สถานที่ และสื่อการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมและทันสมัย
ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาในทุกๆด้านควบคู่กันไป หลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเน้ือมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย สามารถบูรณาการใช้กับวิชาต่าง ๆ ได้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและกระตุ้นความสนใจเป็นส่ิงเร้าในการเรียน เพิ่มความสนใจและลดความกดดันในการเรียนในห้องเรียน ส่งเสริมการทำงานเป็นหมู่คณะคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาผ่านกิจกรรม ส่งเสริม พัฒนาการในทุกด้านตามช่วงวัย
- ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
ควรที่จะมีการปรับเปลี่ยนระยะห่างของเวลาการทดสอบให้มีระยะห่างเพิ่มขึ้นหรือปรับ เปลี่ยนเกณฑ์ของการทดสอบให้ยากขึ้น
วิธีดำเนินการวิจัย
ระยะท่ี 1 ศึกษาสภาพข้อมูลพื้นฐานในการสร้าง หลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัยได้ดำเนินการเป็น 3 ขั้นตอนย่อยประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม
ระยะท่ี 2 สร้างและทดลองใช้หลักสูตรพลศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยฯพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย
-
ผลการวิจัย
1.การสร้างหลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย พบว่า ในการจัดการเรียนการสอนพลศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในปัจจุบันของประเทศไทยยังไม่มี การจัดทำหลักสูตรพลศึกษาขึ้นมาเพื่อรองรับ แต่มีระบุในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเรื่องการพัฒนากล้ามเน้ือมัดใหญ่และมัดเล็ก
2.ประสิทธิภาพของหลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย พบว่าหลักสูตร พลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเน้ือมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย มีประสิทธิภาพ โดยจากการเปรียบเทียบผลการทดสอบ สมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย 4 ทักษะ
การอภิปรายผล
ตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย
การสร้างหลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ สำหรับเด็กปฐมวัย ส่วนใหญ่มีการใช้รูปแบบการเรียน การสอนที่คล้ายคลึงกันโดยยึดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2546
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย แสดงให้เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงด้านทักษะการ เคลื่อนไหวสอดคล้องกับผลของแบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การสร้างหลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเน้ือมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัยจำเป็นที่จะต้องเข้าใจบริบทของเด็กปฐมวัยและการส่งเสริมพัฒนาการต่าง ๆ น้ันมีขั้นตอนและกระบวนการที่ไม่ซับซ้อนและเข้าใจได้ง่าย
อ้างอิง : ศุภกร บัวหยู่, พิมพา ม่วงศิริธรรม, และ อนันต์ มาลารัตน์.(2562). การพัฒนาหลักสูตรพลศึกษาเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่สำหรับเด็กปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.30(1),85-95.
-