Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลน้ำ อิเล็คโตรไลท์ กรดด่างในร่างกาย - Coggle Diagram
สมดุลน้ำ อิเล็คโตรไลท์ กรดด่างในร่างกาย
การควบคุมความสมดุลของกรด - ด่าง (regulation of acid base balance )
ในภาวะปกติ pH ในเลือดแดง (arterial blood pH) มีค่าประมาณ 7.4 และ pH ใน เลือดดํา (venous blood pH) มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือดดําต่ำกว่า ในเลือดแดงเนื่องจากในเลือดในภาวะปกติ pH ในเลือดแดง (arterial blood pH) มีค่าประมาณ 7.4 และ pH ใน เลือดด า (venous blood pH) มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือด ดําต่ำกว่า ในเลือดแดง
ความหมายของคํา
Arterial Blood Gases: วิธีปี ระเมินค่าความเป็นกรด-
ด่างของร่างกายโดยการเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดง
Acidosis: ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นกรดเกิดขึ้น มีระดับของ PH
ในเลือดแดง < 7.35
Alkalosis: ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นต่างเกิดขึ้น มีระดับของ PH
ในเลือดแดง > 7.45
Buffer: สารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง PH
ของสารนั้นไวไ้ ด้แม้ว่า เติมกรดแก่ หรือ ด่างแก่ลงไป หรือแม้ PH จะเปลี่ยนแปลงก็เป็นเพียงเล็กน้อย
ในสภาวะปกติของร่างกายmetabolism
ของร่างกายจะเกิดกรดตลอดเวลา เนื่องจาก oxidation ของอาหาร
ในเลือดแดง pH ปกติมีค่า 7.35-7.45
pH ในเลือดแดงมีค่า > 7.45 เรยี กว่า alkalosis
ภายในเซลล์ PH ปกติอยู่ระหว่าง 6.0-7.4 แตกต่างกันในเซลล์ต่างๆ
ในเลือดดําและในช่องว่างระหว่างเซลล์ pH มีค่าประมาณ 7.35
pH ในเลือดแดงมีค่า < 7.35 เรยี กว่า acidosis
กลวิธีในการรักษาสมดุลกรด-ด่างของไต
การดูดซึมกลับของ bicarbonate
การขับ H+ โดยรวมกับ HPO4 เป็น H2PO4 หรือ titratable acid
การขับ H+ โดยการสร้างเกลือแอมโมเนีย
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยไต
I. non-volatile acid จาก protein: amino acid ที่มี sulfuric และphosphoric acid
non-volatile acid จาก lipid: keto acid
ขับกรดที่เกิดจาก metabolism ของร่างกาย โดยเฉพาะ non- volatile acid
non-volatile acid จาก carbohydrate: lactic acid และ pyruvic acid
Phosphate buffer system
เป็น buffer ที่สําคัญในเซลล์มากกว่าในเลือดเนื่องจากมีอยู่ในเซลล์จํานวนมาก โดยเฉพาะใน Redblood cell และ renal tubule cell
พบทั้งในเซลล์และนอกเซลล์ แต่โดยส่วนใหญ่พบในเซลล์ มีประจุลบ จึงเป็น buffer ที่มีความสําคัญในเซลล์ -
Buffer
ทําปฏิกิริยากับกรดและด่างเกิดเป็น เกลือของกรดหรือด่างนั้น
เป็นสารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้
สิ่งที่ช่วยควบคุมภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
ไต: ควบคุมปริมาณการขับทิ้ง H' ในปัสสาวะ มีประสิทธิภาพในการควบคุมกรด-ด่างมากที่สุดแตาต้องใช้เวลาหลายวัน
ระบบหายใจปอด:ควบคุมอัตราการกําจัดC02 ออกจากร่างกายมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง carbonic acid (H2CO3)
ᆞBuffer:มีอยู่ทิ้งในและนอกเซลล์ จะปรับภาวะกรด- ด่างให้เข้าสู่สมดุลภายในไม่กี่นาที มีปริมาณจํากัด เมื่อใช้หมด ร่างกายจะอาศัยการทํางานของอวัยวะระบบอื่นในการแก้ภาวะเสียสมดุล
ระบบ buffer ในร่างกายแบ่งเป็น 4 ระบบ
Phosphate buffer system
Protein buffer system
I. Bicarbonate-carbonic acid buffer system
Haemoglobin buffer system
ภาวะขาดน้ำ (Fluid deficit หรือ Dehydration) คือภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับอาจขาดเฉพา ะน้ำอย่างเดียวหรือขาดน้ำมากกว่า เกลือ(hypertonic dehydration)
สาเหตุ
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป
เสียทํางผิวหนังและปอดเหงื่อ ออกมากผิดปกติ
ได้รับน้ำน้อยลงดื่มน้ำน้อยเกินไป
ปัสสาวะมากผิดปกติ
กลไกลการรักษาดุลยภาพของน้ำ
การกระหายน้ำ
สมองส่วนไฮโพทาลามัส (hypothalamus)
ควบคุมปริมาณน้ำในเลือดถ้าร่างกายขาดน้ำมักจะทําให้เลือดเข้มข้นกว่า ปกติเกิดอาการกระหายน้ำ
ADH ไปกระตุ้นท่อหน่วยไตให้ดูดน้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือดทําให้ปริมาณน้ำในหลอดเลือดสูงขึ้นและความรู้สึกกระหายน้ำลดน้อยลง
ถ้าเลือดเจือจางไฮโพรทาลามัสจะยับยั้ง การสร้าง ADH ทําให้การดูดน้ำกลับคืนน้อย
น้อยปริมาณน้ำในร่างกายจึงอยู่ในสภาวะสมดุล
กลไกลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การตอบสนองของร่างกาย
ปริมาตรน้ำนอกเซลล์ที่ลดลงและความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
เมื่อร่างกายขาดน้ำจะมีผลทําให้ความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
จึงดึงน้ำจากภายในเซลล์ออกสู่ภายนอกเซลล์
อาการขาดน้ำ
อาการขาดน้ำที่รุนแรงน้อยถึงปานกลาง
ได้แก่ผิวแห้งริมฝีปาก,ช่องปากแห้ง , อ่อนเพลีย, เหนื่อยง่ำย, ปัสสาวะน้อย, มึนหัวเวียนศีรษะ
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ
การคั้งของน้ำมากว่าเกลือ (hypo-tonic expansion)
การคั้ง ของทั้ง เกลือและน้ำ (isotonic expansion)
การคั้งของน้ำอย่างเดียว (water volume excess)
ความไม่สมดุลของน้ำ
นา (WATER) น้ำ ( total body fluid ) เป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3 ของร่างกาย ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ โดยมีเยื่อ กันบางๆ
(membrane) เป็นตัวแยก : 55-60% ของน้ำหนักตัว
1.น้ำภายในเซลล์ ( intracellular fluid ; ICF ) : 40% ของน้ำหนักตัว
2.น้ำภายนอกเซลล์ ( extracellular fluid ; ECF ) : 20% ของน้ำ
หนักตัว
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
การกระหายน้ำควบคุมโดยปริมาตรน้ำและความเข้มข้นของพลาสมาศูนย์กระหายน้ำในไฮโปธาลามัส (Hypothalamus)
การขับปัสสาวะ
กลไกควบคุมปริมาตรน้ำ
การกรองที่ไต
ADH
การกรองที่ไต
กลไกควบคุมความเข้มข้นของพลาสมาให้คงที่โดยอา ศัย ADH