Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 "การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของม…
บทที่3 "การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ"
การให้สุขศึกษาและคำแนะนำ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
วัคซีนป้องกันโรคไข้วัดใหญ่ ฉีดเมื่ออายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป
วัคซีนโควิด-19 ฉีดเมื่ออายุครรภ์ 3 เดือนขึ้นไป
วัคซีนบาดทะยัก
เคยได้รับ
2 เข็ม ฉีดเพิ่ม 1 เข็มในระหว่างการตั้งครรภ์
3 เข็ม (ครบ) เกิน 10 ปี ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม
3 เข็ม (ครบ) ไม่เกิน 10 ปี ไม่ต้องฉีดกระตุ้น
1 เข็มจะฉีดเพิ่ม 2 เข็มห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน
ไม่เคยได้รับ
เข็มที่ 2 ห่างเข็มแรกอย่างน้อย 1 เดือน
เข็มที่ 3 ห่างเข็มสอง อย่างน้อย 6 เดือน
ครั้งแรกเมื่อ ANC
โภชนาการ
ควรได้รับพลังงาน 2500 kcal/day และรับประทานยาที่มีธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบด้วย เพื่อป้องกันการเกิด Iron deficiency anemia
การพักผ่อน
กลางคืนนอน 8-10 ชม.และนอนพักในตอนกลางวัน 30-60 นาที/วัน นอนในท่าตะแคงซ้าย หลีกเลี่ยงนอนหงายราบป้องกันการกดทับเส้นเลือด
ถ้ามีปัญหาการนอนหลับให้ดื่มนมอุ่น นอนในที่เงียบสงบ ออกกำลังเพื่อให้ร่างกานเกิดการผ่อนคลาย
การออกกำลังกาย
ออกกำลังการเพื่อให้มสุขภาพที่แข็งแรงและหลังคลอดน้ำหนักลดได้เร็ว
การดูแลฟัน
ฟันผุควรได้รับการรักษาเพราะอาจจะทำให้เกิดการอักเสบได้และการอักเสบจะกระจายไปยังอวัยวะอื่นได้
หากอาเจียนควร แปรงฟันหรือบ้วนปากทุกครั้งเพื่อลดการสะสมของแบททีเรียซึ่งเป็นสาเหตุทำให้ฟันผุและเหงืออักเสบ
การชำระล้างร่างกาย
ไม่ควรอาบน้ำในแม่น้ำลำคลองหรือนอนอาบในอ่างเพราะจะทำเชื้อโรคเข้าช่องคลอดและเกิดการอักเสบได้
การแต่งกาย
ใส่ผ้าหลวมๆ
ใส่ชุดชั้นในขนาดพอดีเต้านมไม่เล็กหรือรัดจนเกินไปเพราะจะทำให้เต้านมถูกกดส่งผลให้เต้านมสั้น ทารกดูดได้ยาก
รองเท้าส้นเรียบ
การขับถ่าย
ปัสสาวะ จะปัสสาวะบ่อยมากขึ้นในระยะแรกจากมดลูกกดเบียดกระเพราะปัสสาวะและในระยะใกล้คลอดเพราะส่วนนำของทารกกดกระเพาะปัสสาวะ
อุจจาระ การเคลื่อนไหวของลำไส้น้อยลง อาจมีภาวะท้องอืด ท้องเฟ้อและท้องผูกได้ ให้รับประมานผัก ผลไม้ อาหารย่อยง่าย ดื่มน้ำเยอะๆ
การมีเพศสัมพันธ์
มีเพศสัมพันะ์ได้ปกติแต่ไม่ควรทำในท่าที่กดทับท้องและหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมันธ์ในช่วง 3-4 เดือนแรก เพื่อป้องกันการแท้ง
การเดินทาง
ไม่ควรเดินทางไกลห่างจากสถานพยาบาลในช่วง 25-36 สัปดาห์
ไม่ควรเดินทางไกลในช่วงก่อน 16 สัปดาห์ อาจจะทำให้แท้งได้
ไม่เดินทางนานเกิน 6 ชม.และควรพักทุุกๆ 2 ชม.เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
อาการที่ผิดปกติควรรีบพบแพทย์
เลือดออกทางช่องคลอดในช่วงแรกของการตั้งครรภ์
ทารกในครรภ์ไม่ดิ้น
น้ำคร่ำเดินก่อนกำหนด
เจ็บครรภ์บ่อยหรือมดลูกหดรัดตัวแข็งถี่ผิดปกติ
มีความผิดปกติอื่นๆ เช่น ไข้สูง ตกขาวมากและเปลี่ยนสีพร้อมมีกลิ่น ปัสสาวะแสบขัด
อาการนำก่อนคลอด
มีน้ำเดินจากถุงน้ำคร่ำแตกเป็นน้ำใสๆ ออกมาจากช่องคลอด
เจ็บครรภ์เตือน/จริง
มีมูกเลือดปนออกมาทางช่องคลอด (Mucous bloody show)
การเตรียมตัวมาคลอด
เอกสารสำคัญสำหรับการแจ้งเกิด เช่น บัตรประชน ทะเบียนบ้าน
การเป๋าคุณแม่ เช่น เสื้อผ้า เครื่องอาบน้ำ
กระเป๋าทารก เช่น ผ้าออม เสื้อผ้า ถุงเท้า ผ้าขนหนู
การดูแลมารดาที่มีถาวะไม่สุขสบาย
ในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
มีน้ำลายมาก
จากการเพิ่มของระดับ Estrogen
การปฏิบัติตัว
ลดอาหารจำพวกแป้งหรืออมลูกอมที่มีรสเปรี้ยว
เหงือกอักเสบ
สาเหตุ
จากการเพิ่มของระดับ Estrogen ทำให้เลือดคั่งมากขึ้น อาจมีเลือดออกได้ง่าย
การปฏิบัติตัว
ใชเแปรงสัฟันที่นุ่ม อ่อน
เพิ่มปริมาณอาหารให้มีโปรตีน ผัก ผลไม้
ดูแลสุขภาพฟันโดยบ่อนทันตแพทย์บ่อยๆ
คลื่นไส อาเจียน
สาเหตุ จากสภาพจิตใจและฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลง
การปฏิบัติตัว
รับประทารอาหารที่แข็งย่อยยาก ครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง
ดื่มของอุ่นๆ จิบบ่อยๆและดื่มน้ำทันทีหลังตื่นนอน
ตื่นเช้า นอนต่อก่อนประมาณ 15 นาทีแล้วจึงลุกขึ้น
ตกขาว
สาเหตุ การเพิ่มของ Estrogen มีเลือดมาเลี้ยงมากที่ Vaginal epithelium และ Cervix ทำให้เพิ่มสารคัดหลั่งในช่องคลอดป้องกันการติดเชื้อจากภายนอกสู่ภายใน
การปฏิบัติตัว
ดูแลความสะอาดอวัยวะเพศ ล้างด้วยน้ำสะอาดไม่สวนล้างและเช็ดให้แห้ง
สวมกางเกงในผ้าฝ้ายหรือใส่แผ่นอนามัยบางๆ
ถ้ามีตกขาวมาก มีกลิ่น สีเปลี่ยน มีอาการคันให้รีบพบแพทย์
ในไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์
ร้อนในอก
สาเหตุ Progesterone ลดการทำงาน
การปฏิบัติตัว
รับประทารอาหารครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง
เลี่ยงอาหารที่่ทำให้เกิดแก๊สและเลี่ยงอาหารรสจัด
ท้องผูก
สาเหตุ มดลูกขยายขึ้นและการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
การปฏิบัติตัว
ดื่มน้ำมากๆ วันละ 8-10 แก้ว
รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ช่วยให้ลำไส้เคลื่อตัวดีขึ้น
ฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลา
ริดสีดวงทวาร
สาเหตุ ลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง+มดลูกขยายใหญ่ขึ้นทำให้กดเส้นเลือดความดันในเส้นเลือดเพิ่มขึ้นส่งผลให้เส้นเลือดดโป่งพอง
การปฏิบัติตัว
รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง
ดื่มน้ำมากๆ วันละ 8-10 แก้ว
ใจสั่น เป็นลม
สาเหตุ
น้ำตาลในเลือดน้อย
เปลี่ยนอริยาบถเร็วเกินไป
เลือดไหวเวียนไปเลี้ยงสมองไม่ดี
มีพยาธิสภาพของโรค
นอนหงายนานเกินไปทำให้มดลูกกดทับเส้น้ลือดที่เข้าสู่หัวใจ
การปฏิบัติตัว
เปลี่ยนอริยาบถช้าๆ
นอนในท่าตะแคงซ้ายหรือนอนในท่ากึ่งนั่งเพื่อลดการกดทับของเส้นลือด
ตรวจความเข้มข้นของเลือด ถ้ามีอาการซีดควรพบแพทย์
ในไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์
เส้นเลือดขอด
สาเหตุ มดลูกที่โตขึ้นกดทับเส้นเลลือดดำที่ผ่านจากอุ้งเชิงกรานไปสู่ช่องท้องมีความดันสูงขึ้นทำให้เกิดการโป่งพองของเเส้นเลือดเล็กๆ
การปฏิบัติตัว
ไม่ควรยืนหรือเดินเป็นเวลานานๆ
นอนตะแคงซ้าย
ยกเท้าสูงหรือยกขาขึ้นเวลานั่งโดยฌแพาะช่วงบ่ายและเย็น
พันขาด้วยผ้า elastic bandage ช่วยให่การไหลเวียนเลือดดีขึ้น
ระมัดระวังอย่าให้เกิดการบาดเจ็บบริเวณที่มีเส้นเลือดพองขอด
หายใจตื้นและลำบาก
สาเหตุ มดลูกโตขึ้นทำให้กระบังลมขยายตัวได้ไม่เต็มที่
การปฏิบัติตัว
นอนในท่าศีรษะสูงถ้ายังไม่ดีขึ้นให้รีบพบแพทย์
ปรึกษาแพทย์เพื่อค้นหาสาเหตุ
ตะคริว
สาเหตุ ขาดความสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัส
การปฏิบัติตัว
หลีกเลี่ยงก่ารใช้กำลังขาที่มากเกินไป
นวดขา และเหยียดขาดัดปลายเท้าให้ง้อขึ้นกดหัวเข่าชิดพื้น
ปรึกษาแพทย์ เพื่อรับยาที่มีแคลเซียมเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ปวดหลังและข้อบริเวณต่างๆ
สาเหตุ
มดลูกใหญ่ขึ้น น้ำหนักถ่วงมาด้านหน้าจุดศูนย์กลางถ่วงเปลี่ยนหลังแอ่น
การขยายของเส้นเอ็นที่ยึดต่อของกระดูกเชิงกรานเพื่อเตรียมการคลอด
การปฏิบัติตัว
หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
บริหารกล้ามเนื้อหลัง ด้วยท่า Pelvic tilting
ใส่รองเท้าส้นเตี้ย
ปรึกษาแพทย์ถ้ามีอาการปวดมากๆ
ปัสสาวะบ่อย
สาเหตุ มดลูกมีขนาดใหญ่ทำให้ไปกดกระเพาะปัสสาวะความจุของปัสสาวะลดลง
การปฏิบัติตัว
ดื่มน้ำมากๆในตอนกลางวันและดื่มน้ำก่อนนอนอย่างน้อย 3 ชม.
เลี่ยงการกลั้นปัสสาวะ
เลี่ยงเครื่องดิ่มที่มีฟทธิ์ขับปัสสาวะ เช่น ชา กาแฟ
หลีกเลี่ยงการถ่ายปัสสาวะในท่านั่งย่องๆ
อาการคัน
สาเหตุ จากการยืดขยายของกล้ามเนื้อ
การปฏิบัติตัว
แนะนำทำความสะอาดร่างกายบ่อยๆ
ตัดเล็บให้สั้น ไม่เกาบริเวณที่คัน
ทาครีมหรือน้ำมันบำรุงผิวเลี่ยงการใช้สารที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอร์หรือน้ำมันหอมระเหย
เลี่ยงการใช้สบู่ที่มีความเป็นกรดหรือด่างสูง
บวม
สาเหตุ มีน้ำคั่งในเนื้อเยื่อของร่างกาย
การปฏิบัติตัว
เลี่ยงการยืนหรือเดินนานๆ
ขณะพักให้ยกเท้าสูงขึ้นเล็กน้อย
ถ้าบวมนานๆ หรือบวมที่หน้า นิ้วมือ ท้องควนพบแพทย์
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการปรับตัวด้านจิตสังคม
ไตรมาสที่ 1
พัฒนกิจขั้นที่1 สร้างความมั่นใจและยอมรับการตั้งครรภ์
ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการตั้งครรภ์
ประสานหรือขอความร่วมมือ
การตุ้นให้มีการระบายความรู้สึก
ไตรมาสที่ 2
พัฒนกิจขั้นที่2 การับรู้ว่ามีตัวทารกและทารกเป็นส่วนหนึ่งของตน
ส่งเสริมความรู้สึกที่มีต่อทารกในครรภ์
ให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของครรภ์
พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เปิดโฮกาสให้แสดงความรู้สึก
ชี้แจ้งให้สมาชิกภายในครอบครัวมีความเข้าใจ
ไตรมาสที่ 3
พัฒนกิจขั้นที่3 การยอมรับว่าทารกมีบุคลิกภาพแตกต่างไปจากตน
สำรวจเกี่ยวกับความฝันหรือจินตนาการต่างๆที่มีต่อทารก
ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงดูทารก
พัฒนกิจขั้นที่4 การเปลี่ยนแปลงบทบาทเป็นมารดา
ให้ความรู้เกี่่ยวกับการเจ็บครรภ์ การคลอดและการลดปวดขณะคลอด
อธิบายและแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อลดอาการไม่สุขสบายด้านร่างกาย
ช่วยให้หญิงตั้งครรภ์รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
นางสาวนรีกานต์ ขยายแย้ม เลขที่ 53
รหัสนักศึกษา 62114301054