Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Respiratory failure with Pneumonia, นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด เลขที่ 81,…
Respiratory failure with Pneumonia
ความหมาย
ภาวะหายใจล้มเหลว คือภาวะที่ระบบหายใจของร่างกายไม่สามารถทำงานได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายในการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งก่อให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดและ/หรือการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์
ปอดบวม หรือปอดอักเสบ (pneumonia) เป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบของเนื้อปอดบริเวณหลอดลมฝอยส่วนปลาย (terminal และ respiratory bronchiole)ถุงลม (alveoli) และเนื้อเยื่อรอบถุงลม (interstitium) ซึ่งมีสาเหตุจากการติดเชื้อ ทั้งไวรัส แบคทีเรีย
สาเหตุ
Respiratory failure
เกิดจากหลอดลมตีบตัน หอบหืด หลอดลมอักเสบรุนแรง เนื้อปอดถูกทำลาย เช่น ภาวะปอดอักเสบมาก ๆ มีน้ำหรือลมในช่องเยื่อหุ้มปอดมาก ๆ กล้ามเนื้อการหายใจเสียหน้าที่ เช่น โรคไขสันหลังอักเสบ(Poliomyelitis), Myasthenia gravis ศูนย์หายใจในเมดัลลาเสียหน้าที่ เช่น มีเลือดออกในสมอง ได้รับพิษจากยา มีภาวะพร่องออกซิเจน
Pneumonia
สาเหตุของโรคปอดอักเสบในเด็กที่พบบ่อยได้แก่ ไวรัสแบคทีเรีย
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ อายุของเด็ก
เชื้อไวรัสที่พบบ่อยคือ Respiratory syneytial virus (RSV) เชื้อไข้หวัดใหญ่ (Inuenza) และ เชื้อ Parainuenza
เชื้อแบคทีเรีย ในเด็กเกิดจาก Staphylococcus pneumoniae มากที่สุด และแบคทีเรียอื่นๆ เช่น Haemophilus influenzae , Streptococcus pneumoniae
เชื้อ Myoplasma pcumonia หรือ Pimary pnumnia มักพบในช่วงฤดูหนาว และฤดูใบไม้ร่วง รวมทั้งในสภาวะที่คนอยู่กันหนาแน่น
การพยาบาล
ประเมินอาการหายใจลำบาก ความรุนแรงของโรค ติคตามสัญญาณชีพ โดยเฉพาะอัตราการหายใจ และลักษณะการหายใจ
ประเมินและแก้ไขภาวะพร่องออกซิเขน ในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการใส่ท่อหลอดลมคอและใช้เครื่องช่วยหายใจ คูแลทางเดินหายใจให้โล่งและดูแลให้หายใจสัมพันธ์กับเครื่องช่วยหายใจ
ดูแลให้ออกซิเขนตามแผนการรักษา การให้ออกซีเจนเมื่อผู้ป่วยมีอาการกำเริบจะต้องอยาเพิ่มความเข้มข้นให้ได้ค่ความอิ่มตัวอกซินในหลอเลือดแงที่ปลายนิ้วตามระหว่างร้อยละ 88-92
การดูแลเพื่อลดและบรรเทาอาการทดเกร็งของหลอดลม ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษาของแพทย์ฟังเสียงลมเข้าปอดหลังได้รับยา
ช่วยทำให้ทางเดินหายใจโถ่งอากาศผ่านเข้าออกจากปอดได้สะดวก จัดทำให้ศีรษะสูง
ปรับการพักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ จัดกิจกรรมการพยาบาลให้เหมาะสมและรบกวนู้ป่วยน้อยที่สุด
ฤดูและบรรเทาความเครียดและลดความวิตกกังวล สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยด้วยทำทางเป็นมิตรรับฟังและตอบคำถามด้วยท่าทีที่อบอุ่นและนุ่มนวล
ดูแลให้ได้รับอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ดูแลรักษาความสะอาดปากและฟันดูแลจัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
การป้องกันและลดอันตรายที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดยกไม้กั้นเตียงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ผู้ป่วยติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ถ้ำมีไข้ดูแลเช็ดตัวเพื่อลคไข้ ดูแลให้อากาศถ่ายเทได้ดีช่วยขจัดเสมหะเพื่อรักษาทางเดินหายใจให้โล่งและสะอาด
การชักประวัติ ควรชักประวัดี เก็ยวกับอายุ สาเหดของการเจ็บป่วย
การเลี้ยงดู และสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเจ็บปวยครั้งนี้
ส่งเสริมให้ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ และเพิ่มเนื้อที
ในการแลกเปลี่ยนก็ที่ในปอดโดยการปฏิบัติตังนี้
2.1 เลือกให้ออกซิเจนและความชื้นที่เหมาะสมทั้งขนาดและชนิด
ของอุปกรณ์ที่ใช้ตามวัย และโรคเช่น เด็กทารกให้ออกซิเจนชนิดกล่องครอบศีรษะ เด็กโดใช้ชนิดกระโจม
2.2 จัดท่านอนให้ศีรษะสูง หนุนไหล่ด้วยผ้าหรือหมอนอย่างพอ
เหมาะ ให้ทางเดินหายใจเปิดโล่งและกระบังลมหย่อน
ส่งเสริมทางเดินหายใจให้โล่ง และมีการระบายเสมหะเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการระบายอากาศที่ดีของปอด โดยการปฏิบัติดังนี้
3.1 ดูแลทำความสะอาดทางหายใจให้สะอาดอยู่เสมอ โดย
เช็ตช่องจมูก ช่องปากด้วยน้ำสะอาด
3.3 เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ ทำให้ลดการคั่งของเสมหะ
3.4 ดูดเสมหะในช่องจมูกและปาก ทำทางเดินหายใจให้โล่งเมื่อเสมหะตกค้าง
ติดตามภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน โดยผังอุปกรณ์วัดคำความอิ่ม
ตัวของออกซิเจนในเนื้อเยื่ออย่างถูกวีธี
ติดตามประเมินผลการหายใจ ลักษณะความลึก อัตราและการใช้คล้ามเนื้อทรวงอก ความรุนแรง ของการหอบเหนื่อย และสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่อง
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ อย่างถูกวีย แนะนำบิดามารคาเช็ดด้วลดใช้
อย่างถูกวิธีและให้ยาลดใข้ตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการเกิดภาวะชัก
ให้สารน้ำตามแผนการรักษา และกระตุ้นให้ได้สารอาหารอย่างเพียงพอ ต่อความต้องการของร่างกายเพื่อส่งเสริมให้หายเร็วขึ้น
ยกไม่กั้นเดียงขึ้นทุกครั้งหลังการให้การพยาบาล เพื่อป้องกันการ
ตกเดียง
ให้ความรู้แก่บิดามารดา ในการป้องกันโรค
พยาธิสภาพ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อจากแบคทีเรีย Sputum
(Gram stain)Gram Positive cocci เป็นโรคปอดมาก่อน มีประวัติ โรคปอดอักเสบเรื้อรังแต่กำเนิด
มีการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง
เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อโรคเข้าสู่
ในระบบทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการระคายเคืองที่หลอดลมกระตุ้นการหลั่งเสมหะ ออกมาเคลือบที่ลำคอ เพื่อขับเชื้อโรค
ทารกจะมีเสมหะจำนวนมาก
เมื่อเสมหะมีจำนวนมาก
และไม่สามารถขับเสมหะ ด้วยตนเองได้
ทำให้เชื้อโรคลงไปที่
หลอดลมฝอยและถุงลม
ทำให้เกิดการอักเสบ มีของเหลว
ซึ่งประกอบด้วยพลาสมา เม็ดเลือดขาว เข้าไปในถุงลม ทำให้มีน้ำคั่งในถุงลม ถุงลมมีการขยายลดลง ส่งผลทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง
Pneumonia
ส่งผลทำให้ สาร surfactant ทำงานลด
ลง ทำให้ถุงลมยุบ หรือมีการขยายของถุงลมลดลง
ไม่สามารถรับออกชิเจนเข้าสู่ร่างกายได้
1 more item...
นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด เลขที่ 81