Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (Internal Quality Assurance) - Coggle…
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
(Internal Quality Assurance)
ความหมาย
เป็นกระบวนการตรวจสอบการทำงานของตนเอง (Self-evaluation)สถานศึกษา ควรกำหนดให้การประเมินภายใน เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องของสถานศึกษา และดาเนินการทุก 1 ปี
วัตถุประสงค์
1 . เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏบัติ งานของสถานศึกษาตามมาตรฐานคุณภาพ
2 . เพื่อนำผลการประเมินมาจัดทำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
3 . เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
4 . เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับประเมินจากองค์กรภายนอก
แนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ระดับสถานศึกษา
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 6 ขั้นตอน
1 . การกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
2 . การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
3 . การดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
4 . การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
5 . การติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
6 . จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
สถานศึกษา แต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ .) ในการประเมินคุณภาพ
ดำเนินการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตามหลักการของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา /สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) พร้อมกับประเด็นต่าง ๆ
ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ให้ความร่วมมือ สมศ . ในการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์และให้ข้อมูลเพิ่มเติม
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ . )
ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อการพัฒนาระบบ
ศึกษาวิเคราะห์สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ประสานความร่วมมือกับ สมศ .
หลักการบริหารวงจรคุณภาพจร PDCA
C (Check) ร่วมกันตรวจสอบ
D (Do) ร่วมกันปฏิบัติ
P (Plan) ร่วมกันวางแผน
A (Act) ร่วมกันปรับปรุง
มาตรฐานการศึกษา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตรวจประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
การให้การสนับสนุนของฝ่ายบริหาร
ความพร้อมของบุคคลากร
ความชัดเจนของอำนาจหน้าที่
ความร่วมมือของผู้รับการตรวจประเมิน
ความถูกต้อง
การดูแลของฝ่ายบริหาร
มีวิธีการตรวจสอบการแก้ไขข้อบกพร่องที่เหมาะสม
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการอาชีวศึกษา
มาตรฐานการอุดมศึกษา
ความหมาย
มาตรฐานการศึกษาเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา