Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2) กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitive Theories) - Coggle Diagram
2) กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitive Theories)
ความหมาย
ให้ความสนใจกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจ หรือการ
รู้คิดของมนุษย์
การเรียนรู้จะอธิบายได้ดีที่สุด หากเราสามารถเข้าใจในกระบวนการภายใน
ซึ่งเป็นตัวกลางระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ
การตอบสนอง
มีรากฐานอยู่บนแนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ พุ่งไปที่เรื่องการรับรู้
2.1 ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
นักจิตวิทยา
ฌอง เพียเจต์ (Jean Piaget, 1896 - 1980)
ลักษณะและความหมายของทฤษฎี
ขั้นการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด ช่วงอายุ 2-7 ปี
ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็ก
ขั้นการคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม ช่วงอายุ 7-11 ปี
ขั้นการคิดอย่างมีเหตุผลและ
นามธรรม อายุ 12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่
ได้นำเสนอหลักการเรียนรู้
สำหรับเด็ก
ให้ความสนใจและสังเกตเด็กอย่างใกล้ชิด
เด็กจะรับรู้ส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
ในการจัดประสบการณ์ควรคำนึงถึงพัฒนาการของเด็ก
สอนในสิ่งที่เด็กคุ้นเคยหรือมีประสบการณ์ก่อน
การเปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมมากๆ
2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
นักจิตวิทยา
เจอร์โรม บรูเนอร์ (Jerome Bruner, 1915-ปัจจุบัน)
การจัดการเรียนรู้โดยการค้นพบ
ผู้เรียนจะจดจำสิ่งที่เรียนรู้โดยการค้นพบได้นาน
การเรียนรู้โดยการค้นพบเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากแรงจูงใจภายใน
การเรียนรู้โดยการค้นพบ จะช่วยฝึกทักษะการสังเกตและพัฒนาความคิด
ไม่สามารถใช้การเรียนรู้โดยการค้นพบทุกแขนงวิชา
เนื่องจากต้องให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้วิธีนี้จำเป็น
ต้องใช้เวลานานกว่าวิธีอื่น
2.3 ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
นักจิตวิทยา
เดวิด ออซูเบล (David Ausubel, 1918-2008)
ทฤษฎีของเขา คือ การเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจ
และอย่างมีความหมาย
ความหมาย
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสิ่งที่ครูสอนมีความหมายต่อผู้เรียน รวมถึง
ความพร้อมของผู้เรียน
การเข้าเรียนในโรงเรียนกวดวิชาก็ใช้วิธีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
2.4 ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล
นักจิตวิทยา
คลอสเมียร์ (Herbert Klausmeier)
สนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง
ได้รับความนิยมมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1950 เป็นต้นมาก
แนวคิดนี้ มองว่าสมองของมนุษย์มีกระบวนการทำ
งานคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์
นำมาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน
จัดกิจกรรมโดยการเชื่อมโยงสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ใหม่ กับหลักการหรือ
ความรู้เดิม
จัดเรียบเรียงข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้ผู้เรียน เรียนรู้ออกเป็นหมวด
หมู่
การจัดทำเนื้อหาในหลักสูตร คำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้
เรียน
การสร้างสื่อการสอนควรให้เกิดการเชื่อมโยงความรู้และลงรหัสให้
เก็บไว้ในหน่วยความจำระยะยาว
ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหา
ใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือในกระบวนคิดเพื่อแก้ปัญหา
เน้นให้ผู้เรียนบันทึกการเรียนรู้ของตนเอง