Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อ HIV ในเด็ก (HIV Infection), สุปรียา อินทโคตร. (2553). …
การติดเชื้อ HIV ในเด็ก
(HIV Infection)
ความหมาย
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เกิดหลังจากที่ร่างกายได้รับเชื้อเอชไอวี
T-helper lymphocyte ถูกทำลายมีจำนวนลดลง
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ติดเชื้อต่างๆได้ง่าย
สาเหตุ
เพศสัมพันธ์
การรับเลือด
ส่วนประกอบของเลือด การปลูกถ่ายอวัยวะ
จากผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การใช้อุปกรณ์แทงผิวหนังร่วมกัน
มารดาสู่ทารก
ระหว่างการตั้งครรภ์
เอชไอวีจากมารดาเข้าสู่ระบบไหลเวียนของ
ทารกในครรภ์
ระหว่างการคลอด
ทารกจะสัมผัสกับเลือด น้ำคร่ำ สารคัดหลั่งในช่อง
คลอดของมารดา
หลังคลอด
สัมผัสสารคัดหลั่งของมารดาซึ่ง
ส่วนใหญ่คือนมมารดา
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวี
จะไม่แนะนำให้กินนมมารดา โดยให้เลี้ยงทารกด้วยนมผสมแทน
อาการและอาการแสดงของเด็กที่ติดเชื้อจากมารดา
กลุ่มที่เกิดอาการเจ็บป่วยรวดเร็วและรุนแรง
ทารกได้รับเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา อาจมีอาการตั้งแต่ อายุ2-3เดือน
เลี้ยงไม่โต เชื้อราในช่องปาก อุจจาระร่วงเรื้อรัง
ปอดอักเสบ เป็นต้น
ไวรัสทำลายพัฒนาของภูมิคุ้มกัน
เด็กมักเสียชีวิต 1-2 ปีแรก
ภาวะแทรกซ้อนจากปอด
กลุ่มที่มีการดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยไป
ปรากฏอาการเมื่อเด็กอายุหลายปี
น้ำหนักตัวน้อย ตับม้ามโต
ต่อมน้ำเหลืองโต ปอดอักเสบ
ต่อมน้ำลายอักเสบ ผื่นคันบริเวณผิวหนัง เป็นต้น
การวินิจฉัย
ตรวจ HIV viral testing
ตรวจหาเชื้อหรือส่วนประกอบของเชื้อ
การตรวจหาโปรตีนชนิด p24
antigen
สารพันธุกรรมของเชื้อเอชไอวี ระยะแฝง หรือ window period
ตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อ เอชไอวี
การตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อเอชไอวีเป็นวิธีมาตรฐานสำหรับการวินิจฉัยการ
ติดเชื้อเอชไอวี
ปัจจุบันมีชุดตรวจที่ตรวจได้ทั้งแอนติเจนและแอนติบอดีต่อเชื้อใน
ชุดตรวจเดียวกันด้วยหลักการ ELISA
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่ายจากภูมิคุ้มกันต่ำ เนื่องจาก T4 lymphocyte ถูกทำลาย
1.ถ้าเม็ดเลือดขาวต่ำกว่า 500 เซลล์/ลบ.มม. จัดเด็กแยกห้องที่สะอาดอากาศถ่ายเทสะดวก
2.วัด V/S ทุก 4 ชั่วโมง
3.ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
4.จัดสภาพแวดล้อมและเครื่องใช้ให้สะอาดอยู่เสมอ
5.ให้การพยาบาลด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ
6.ปฏิบัติตามหลักระวังแบบ universal precaution
7.อธิบายหลักการควบคุมการติดเชื้อให้เด็ก ญาติและผู้มาเยี่ยม
8.จำกัดของเยี่ยมที่อาจมีเชื้อโรค เช่น ต้นไม้ ดอกไม้ อาหาร
การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่สมดุล เนื่องจากมีการอักเสบที่ปอด
1.ประเมินภาวะการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
อาการไข้ ไอ เจ็บคอ ลักษณะปริมาณของเสมหะ
วัด V/S ทุก 4 ชั่วโมง
ฟังเสียงปอด ดูสีผิว
2.เจาะ blood gas, CBC ส่งเสมหะตรวจ
3.ประเมินขั้นพื้นฐานระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจ
ลักษณะการหายใจ
5.จัดท่านอน Fowler's position
4.กระตุ้นก่ารดื่มน้ำ ส่งเสริมให้มีการขับเสมหะ
6.ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
7.ให้ยาปฏิชีวนะ ยาระงับอาการไอ
8.ทำความสะอาดปากและฟันให้เด็กอยู่เสมอ
9.ติดตามประเมินผลการพยาบาล โดยตรวจวัดสัญญาณชีพ อุณหภูมิร่างกาย สีผิว เสมหะ เสียงผิดปกติของปอด และ arterial blood gases
การรักษา
การให้ยาต้านไวรัส
มาตรฐานสากลไม่ว่าเป็นผู้ใหญ่หรือเด็กใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ร่วมกันมากกว่า
1 ชนิด ส่วนใหญ่จะใช้ 3 ตัวขึ้นไป
Nucleoside reverse transcriptase inhibitor (NRTI)
Non-nucleoside reverse transcriptase inhibitor (NNRTI)
Protease inhibitor (PI)
Fusion Inhibitors
ให้ยากระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน
การรักษาโรคติดเชื้อที่เกิดขึ้น
ให้ยาป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
ให้ยารักษาโรคอื่นๆ
ยาแก้คัน ยารักษาโรคปวดข้อสเตรียรอยด์ ยากันชัก เป็นต้น
พยาธิสภาพ
เชื้อ HIV เป็นเชื้อไวรัสกลุ่ม lentivirus
GP 120 ขอบเปลือกนอกไวรัส จับกับ CD 4 molecule
ติดเชื้อที่ T helper cell (CD 4+)
เชื้อ HIV เพิ่มจำนวน
สร้างสายดีเอ็นเอโดยเอนไซม์ Reverse transcryptase
แทรกเข้าไปใน DNA ผู้ติดเชื้อถาวร
เข้าสู่ระยะฝังตัว
เพิ่มจำนวนไวรัสระยะหนึ่ง
1 more item...
สุปรียา อินทโคตร. (2553). การปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2564, จาก
http://www.msdbangkok.go.th/dowload%20file/Personal/Succeed/nurse%20pro/110456/supliya.pdf