Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
1.ปัจจัยด้านมารดา
ภาวะแทรกซ้อนตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
จนถึงระยะคลอด
ปัจจัยด้านทารก
ทารกที่มีภาวะพร่องออกซิเจนในระยคลอด
ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบากในทารกแรกเกิด
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ และการติดเชื้อ
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมาก ( Very low birth weight ) คือ ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า1,500 กรัม โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
ทารกน้ำหนักตัวน้อยมากมาก ( Extremely low birth
weight ) คือ ทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,000 กรัม
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย( Low birth weight ) คือ ทารกแรกเกิดที่มีน้้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า2,500 กรัม โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่าอายุครรภ์ ( Small gestational age ) คือ ทารกแรก
เกิดที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าา 10 เปอร์เซ็นต์ไทลของน้ำหนักปกติที่อายุครรภ์นั้น ๆ
ทารกโตช้าในครรภ์
คือ ทารกที่เกิดก่อน หรือครบ หรือเกินกำหนดแต่มี
น้ำหนักต่ำกว่าอายุครรภ์ และจัดเป็นทารกที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยงสูงกลุ่มหนึ่ง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายทารกเกิดใหม่
การประเมินอายุครรภ์
เปรียบเทียบน้ำหนักแรก
เกิดและอายุครรภ์
การประเมินอายุครรภ์
วิธีของสูติแพทย์
การกำหนดอายุครรภ์ก่อนคลอดโดยการคำนวณตามประจำเดือนครั้งสุดท้ายของมารดา ปัจจุบันสูติแพทย์สามารถนัดอายุครรภ์ได้แม่นยำ ด้วยการใช้คลื่นความถี่สูง ( ultrasonography )
วิธีของกุมารแพทย์
Dubowitz โดยให้คะแนนตามลักษณะทางกายภาพ และทางระบบประสาทแล้วนำมาเปรียบเทียบอายุครรภ์
Ballard เป็นการดัดแปลงวิธีของ Dubowitzให้สั้นลงซึ่ง 2 วิธีนี้มีความคลาดเคลื่อน 2 สัปดาห์
การกำหนดอายุครรภ์
การเปรียบเทียบอายุครรภ์ที่ค้านวณได้ตาม LMP กับ Ballard score ถ้าต่างกันไม่เกิน 2 สัปดาห์ ให้ถือตาม LMP ที่ มารดาบอก
ชนิดหรือประเภทของทารกโตช้าในครรภ์
ทารกโตช้าหรือตัวเล็กแบบได้สัดส่วน
ทารกที่ตัวเล็กเตี้ยหรือสั้น มีความหนาของผิวหนังเป็นปกติ มีสมองและอวัยวะต่างๆ ที่เล็กลงเท่าๆ กัน อยู่ระหว่างเปอร์เซนไทล์ที่ 10-90 กลุ่มนี เติบโตช้าเมื่อเทียบกับเด็กอื่น
สาเหตุ
ทารกจำนวนหนึ่งที่ไม่ได้หยุดเจริญเติบโตแต่ตัวเล็ก เพราะกรรมพันธุ์
สาเหตุจากตัวอ่อนผิดปกติ ได้แก่ความพิการแต่กำเนิดหรือติดเชื้อในครรภ์
เริ่มตั้งแต่อายุครรภ์อ่อนๆ มีพยาธิกำเนิดซับซ้อน มีศักยภาพของการเจริญเติบโตที่ต่ำกว่าปกติ
ทารกโตช้าหรือตัวเล็กแบบผิดสัดส่วน
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยแต่ตัวยาวหรือสูงเป็นปกติสมอายุครรภ์ จะมีลักษณะขาดสารอาหารมีไขมันใต้ ผิวหนังน้อยมาก ศีรษะค่อนข้างโตเมื่อเทียบกับขนาดของล้าตัวแต่ศีรษะโตสมอายุครรภ์
ทารกโตช้าในครรภ์
สาเหตุทางมารดา
ความดันโลหิตสูง เช่น จากโรคพิษแห่งครรภ์ โรคไต โรคต่อมหมวกไต
ขาดออกซิเจน เช่น มารดาที่อยู่ในที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลมากๆ มารดาที่เป็นโรคหัวใจ
เป็นโรคติดเชื้อที่ผ่านรกและมีผลต่อเด็กในครรภ์ เช่น Cytomegalovirus Toxoplasmosis หัดเยอรมัน
เป็นเบาหวานอย่างรุนแรง
อื่นๆ เช่น มารดาติดบุหรี่ ขาดอาหารอย่างรุนแรง ติดสารเสพติด
สาเหตุทางรก
ครรภ์แฝดตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
ทารกที่มีความผิดปกติของ Chromosome เช่น Trisomy คู่ที่ 13-15 คู่ที่ 17-18 คู่ที่ 21
มีความพิการแต่กำเนิด
เด็กอยู่ในครรภ์เกินกำหนด
พิการที่ส่วนของร่างกายขาดหายไป เช่น ศรีษะ แขน ขา
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิด
Polycythemia
Meconium Aspiration Syndrome
Hypothermia
Prenatal infection
Hypoglycemia
ปัญหาทางระบบประสาทและบุคลิกเปลี่ยน
Perinatal Asphyxia
ทารกโตช้าในครรภ์
พบลักษณะของการเจริญเติบโตต่ำกว่าทารกปกติ เช่น
ผิวหนังแห้งเหี่ยว มีรอยแตกของผิวหนัง
อาจพบว่าผิวหนังของทารกแต่งตึงและใสเป็นมัน
ศรึษะใหญ่ไม่เป็นสัดส่วนกับลำตัว และอาจจะพบขี้เทาจับ
ลักษณะแสดงออกของพฤติกรรมทางกาย
ร้องเสียงดัง
หน้าตาตื่นตลอดเวลา
ทารกไม่ค่อยอยู่นิ่ง
หิวบ่อยและดูดนมได้มากกว่าปกติ
น้ำหนักตัวอาจจะไม่ลด หรือลดเพียงเล็กน้อยระยะ 1-3 วันแรกแล้วขึ้นอย่างรวดเร็ว