Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 อะตอมและสมบัติธาตุ, อนันตญา พรหมพุทธา เลขที่ 33 ม.4/12, Screenshot…
บทที่2 อะตอมและสมบัติธาตุ
ตารางธาตุและสมบัติของธาตุหมู่หลัก
อโลหะ
จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่นต่ำ
สถานะ ของแข็ง ของเหลว แก๊ซ
ค่าIE,EN สูง
กึ่งโลหะ
มีสมบัติระหว่าง โลหะและอโลหะ
จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่นสูง
สถานะ ของแข็ง
นำไฟฟ้าได้
ค่าIE,EN สูง
โลหะหมู่A
จุดเดือด จุดหลอมเหลว หนาแน่นสูง
นำไฟฟ้า ความร้อน
สถานะ ของแข็ง
ค่า IE, EN ต่ำ
โลหะแทรนซิชัน
มีความเป็นโลหะ น้อยกว่า1A และ 2A
สถานะ ของแข็งยกเว้น ปรอท เป็นของเหลว
จุดเดือด จุดหลอมเหลว หนาแน่นสูง
นำไฟฟ้า และนำความร้อนได้ดี
ค่าIE,EN ต่ำ
แลนทาไนท์
ธาตุหายาก
มีเลขอะตอมมาก
แอคทิไนด์
ครึ่งชีวิตสั้น
มีเลขอะตอมมาก
เป็นธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุหายาก
การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ระดับพลังงานย่อย
หมายถึง ระดับพลังงานย่อยในระดับพลังงานหลักตามเลขควานตัม
ประกอบด้วย
s shap มี1 ออร์บิทัล
การกระจายของอิเล็กตรอนไม่ขึั้นอยู่กับทิศทางเคลื่อนที่เป็นทรงกลม
d diffuse มี5 ออร์บิทัล รูปร่างแบบสามมิติ ในทิศทางต่างกัน
p principal มี3ออร์บิทัล ลักษณะเป็นพลู อยู่คนละด้านกับนิวเคลียสหรือแบบดัมเบล
f fundamental มี7ออร์บิทัล
หลักการ
หลักของอาฟบาว
บรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่ต่ำสุดจนเต็มแล้วบรรจุพลังงานสูงขึ้น
กฎของฮุนต์
การบรรจุในออร์บิทัล ที่มีพลังงานเท่ากันจะบรรจุให้มีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด
หลักของเพาลี
อิเล็กตรอนคู่หนึ่งคู่ใดในออร์บิทัลเดียวกันจะต้องมีสมบัติไม่เหมือนกัน
กรณีอะตอมไม่เป็นกลาง
:no_entry:กรณีที่เสียอิเล็กตรอน บรรจุอิเล็กตรอนปกติก่อน แล้วนำอิเล็กตรอนที่อยู่ชั้นนอกสุดออก
อิเล็กตรอนที่หลุดก่อนคือตัวที่อยู่ระดับพลังงานนอกสุดไม่ใช่ตัวที่มีพลังงานสูงสุดเสมอไป
กรณีธาตุได้รับอิเล็กตรอน บรรจุอิเล็กตรอนปกติรวมกับอิเล็กตรอนที่รับเข้ามาตามลำดับ
ระดับพลังงานหลัก
หมายถึง ระดับชั้นพลังงานของอะตอมตามควอนตัมหลัก
ข้อจำกัด
ใช้กับการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุแทรนซิชันไม่ได้
หลักการจัดเรียง
บรรจุจากระดับพลังงานต่ำเต็มก่อนจึงบรรจุระดับสูงจนหมด
อิเล็กตรอนระดับพลังงานนอกสุด(เวเลนซ์อิเล็กตรอน)มีไม่เกิน8ตัว
ต้องทราบจำนวนอิเล็กตรอนโดยอาศัยเลขอะตอม
อิเล็กตรอนระดับพลังงานถัดเข้ามาจากนอกสุด มีไม่เกิน18ตัว
แบบจำลองอะตอม
ที่มา
ดอลตัน จุดประกายทฤษฎีอะตอม
ทอมสัน ค้นพบอิเล็กตรอนโดยการศึกษาหลอดรังสีแคโทดที่คิดค้นโดยครูกซ์
เมื่อ 400 ปี ก่อนคริศต์ศักราชนักปราชญ์ชาวกรีก ชื่อ ดิโมคิตุส (Democritus) เชื่อว่าเมื่อย่อยสารลงเรื่อย ๆ จะได้ส่วนที่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีก และเรียกอนุภาคขนาดเล็กที่สุดว่าอะตอม ซึ่งคำว่า "อะตอม"(atom) เป็นคำซึ่งมาจาก
ภาษากรีกว่า (atomas) แปลว่า แบ่งแยกอีกไม่ได้
ออยแกน ค้นพบโปรตอน หรือรังสีบวก หรือรังสีแคแนล
มิลลิแกน หาค่าประจุอิเล็กตรอน
เจมส์ แซดวิก ค้นพบนิวตรอนโดยการทดลองยิงอนุภาคแอลฟ่าไปยังธาตุเบริลเลียม
โบร์ ทฤษฎี อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสอยู่ตรงกลางมีอิเล็กตรอนวิ่งล้อมรอบเป็นระดับพลังงาน
โชว์ดิง เจอร์ ให้กำเนิดทฤษฎีกลุ่มหมอกโดยอิเล็กตรอนเคลื่อนที่พบนิวเคลียสด้วยความเร็วสูงไม่สามารถบอกตำแหน่งแน่นอนอิเล็กตรอนได้บริเวณกลุ่มหมอกหนาแสดงว่าโอกาสจะพบอิเล็กตรอนมาก
ไฮเซนเบิร์ก หลักความไม่แน่นอนกล่าวว่า"เราไม่สามารถรู้ตำแหน่งที่อยู่และโมเมนตัม ของอิเล็กตรอนได้อย่างเที่ยงตรงพร้อมๆกันได้"
รัทเทอร์ฟอร์ด อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กมากอยู่ตรงกลาง และมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก โดยมีอิเล็กตรอนวิ่งอยู่บริเวณรอบๆ ศึกษาการยิงอนุภาคแอลฟาผ่านแผ่นทองคำ
[ธาตุแทรนซิชัน]
คือ กลุ่มธาตุที่อยู่ระหว่าง หมู่2A กับ3A ซึ่งประกอบด้วย หมู่1B-8B รวมทั้ง อินเนอร์แทรนซิชัน ได้แก่ กลุ่ม แลนทาไนด์ และ กลุ่ม แอกทิไนด์
เป็นธาตุที่ใช้อิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยในการเกิดพันธะยกเว้นหมู่2B ที่ใช้อิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยs ในการเกิดพันธะ
สารประกอบของ
ธาตุแทรนซิชันแบ่ง2ประเภท
สารประกอบเชิงซ้อน สารประกอบที่มีไอออนเชิงซ้อน + บวกกับ ไอออน-
สารประกอบ ไอออนิค ไอออน+ของโลหะ แทรนซิชัน + อโลหะ ไอออน- หรือ กลุ่มไอออน-
อนุภาคในอะตอมและไอโซโทป
เลขมวล คือ ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอน
ไอโซโทป คือ ธาตุชนิดเดียวกันแต่มีเลขมวลต่างกัน
เลขอะตอม คือ ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนหรืออิเล็กตรอน
ไอโซโทน คือ ธาตุต่างชนิดกัน แต่มีนิวตรอน เท่ากัน
ไอโซบาร์ คือ ธาตุต่างชนิดกัน แต่มีเลขมวลเท่ากัน
ไอโซอิเล็กทรอนิกส์ คือ ธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
ธาตุกัมมันตรังสี
กัมมันตภาพรังสี คือ รังสีที่ปล่อยออกมาจากนิวเคลียส ของธาตุกัมมันตรังสี
โพซิตรอน อนุภาคประจุบวก มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน
รังสีแกมมา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่ใช่อนุภาคมีความสามารถทะลุทะลวงได้สูง
การแผ่รังสีแกมม่าเกิดกับ ไอโซโทป กัมมันตรังสี ที่มีพลังงานสูงมาก
รังสีบีต้า อนุภาคอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูง
การแผ่รังสีบีต้าเกิดกับNมี n มากกว่า p
รังสีแอลฟา หนักสุด ทะลุทะลวงน้อยสุด
การแผ่รังสีแอลฟ่า เกิดกับ N ที่มีเลขอะตอมมากกว่า83
ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่มีนิวเคลียส ไม่เสถียรจึงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์เพื่อปล่อยอนุภาคหรือพลังงาน
อันตรายจาก ไอโซโทปกัมมันตรังสี :warning:
ถ้ารับเข้าปริมาณมาก เกิน100 มิลลิซีเวิร์ด มีอการคลื่นไส้อาเจียน ปวดศรีษะ ถึงตาย : :!:
ครึ่งชีวิตของไอโซโทป คือระยะเวลาที่นิวเคลียสของไอโซโทปสลายตัว
การนำธาตุไปใช้ และ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต :check: :red_cross:
การแพทย์ :check:
ตรวจสอบการผิดปกติของอวัยวะต่างๆ
I-131ต่อมไทรอยด์
I-132 สมอง
Na-24ฉีดเข้าเส้น เพื่อดูระบบการไหลเวียนเลือด
Tc-99 ดูสภาพหัวใจ ตับ ปอด
Co-60 หรือ Ra-226 รักษาโรคมะเร็ง
ธรณีวิทยา ใช้ C-14 หาอายุวัตถุโบราณ :check:
เกษตร :recycle:
P-32 ติดตามระยะการหมุนเวียนแร่ธาตุ
ด้านอุตสาหกรรม :champagne:
ตรวจหารอยตำหนิในโลหะ
ตรวจรอยรั่วท่อส่งของเหลว
อนันตญา พรหมพุทธา เลขที่ 33 ม.4/12