Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วย ไฟไหม้น้ำร้อนลวก, 461107B4-62F5-4D9F-8427-87F1DDA94A69,…
การพยาบาลผู้ป่วย ไฟไหม้น้ำร้อนลวก
สาเหตุ
ความร้อน เช่น แบบแห้ง เช่น ไฟ (เตาไฟ ตะเกียง พลุ ประทัด บุหรี่) วัตถุที่ร้อน(เตารีดจานชามท่ีใส่ของร้อน)
แบบเปียก เช่น น้าร้อน ไอน้า น้ามันเดือด เป็นต้น
กระแสไฟฟ้า (ไฟฟ้าช็อต)
สารเคมี เช่น กรด ด่าง
การเสียดสีอย่างรุนแรง
รังสี เช่น แสงแดด (แสงอัลตราไวโอเลต), รังสีโคบอลต์, รังสีเรเดียม, รังสีนิวเคลียร์, ระเบิดปรมาณ
การประเมินความกว้างขนาดของแผล (Burn size)
การประเมินความกว้างขนาดของแผล (Burn size)
• การประเมิน Burn size จะใช้ Rule of nine โดยแต่ละ Upper limb และศรีษะคิดเป็น 9% TBSA สาหรับ Lower limb แต่ละข้าง ด้านหน้าด้านหลังของลาตัว คิดเป็น 18 % ส่วน Perineum และ Genitalia คิดเป็น 1% Total body surface area
• การคานวณ Burn size จะไม่ใช่ Frist degree burn ในการประมาณ ค่าด้วย เนื่องจาก ไม่มีผลต่อ Capillary leakage
การประเมินความลึกของแผล (Degree of burn assessment)
การประเมินความลึกของแผลมีความสาคัญในการบอกถึง
ความรุนแรงของการบาดเจ็บ
การวางแผนการรักษา
ปัจจัยที่มีผลต่อความลึกของบาดแผล ได้แก่ ระยะเวลาที่สัมผัสความร้อน อุณหภูมิ ความหนาของผิวหนัง และ Heat dissipation of skin (ปัจจัยการกระจายตัว) เช่น Blood flow การปฐมพยาบาลที่ถูกวิธี เพื่อลดการทาลายของ Zone of stasis
ระดับท่ี 1 (First degree burn)
หมายถึง บาดแผลท่ีมีการทาลายของเซลล์หนังกาพร้าช้ันผิวนอก (Dermis) เท่าน้ัน หนัง กาพร้าช้ันในยังไม่ถูกทาลาย และยังสามารถเจริญข้ึนมาแท และสนิท และไม่ทำให้เกิดแผลเป็นที่ส่วนผิวนอกได้ โดยปกติจะหายได้เร็ว
(Superficial partial-thickness burns)
บาดแผลท่ีมีการทาลายของหนัง กาพร้าท้ังช้ันผิวนอก (Dermis) และชั้นในสุด (Epidermis) และหนังแท้ส่วนท่ีอยู่ตื้น ๆ (Superficial dermis) ใต้หนังกำพร้า
บาดแผลระดับท่ี 2 ชนิดลึก
บาดแผลท่ีมีการทาลายของหนังแท้ส่วนลึก ลักษณะ บาดแผลจะตรงกันข้ามกับบาดแผลระดับท่ี 2 ชนิดตื้น คือ จะไม่ค่อยมีตุ่มพอง แผลเป็นสีเหลืองขาว แห้ง และไม่ค่อยปวด
ระดับที่ 3 (Third degree burn)
บาดแผลท่ีมีการทาลายของหนังกาพร้าและหนัง แท้ท้ังหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อ รูขุมขน และเซลล์ประสาท และอาจกินลึกจนถึงชั้นกล้ามเน้ือ หรือ กระดูก ผู้ป่วยจึงมักไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดที่บาดแผลเนื่องจากเส้นประสาทท่ีอยู่ บริเวณหนังแท้ถูกทาลายไปหมดมักเกิดจากไฟไหม้
ภาวะแทรกซ้อนในระยะ 2-3 วันแรก คือ
1.ภาวะขาดน้าและช็อก ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลกว้าง แพทย์จะให้สารน้า ได้แก่ ริง เกอร์แลกเตท (Ringer's lactate)
2.การติดเชื้อที่อาจเกิดขึ้นหลังจากมีบาดแผล 2-3 วันไปแล้ว (หรือหลัง 1 สัปดาห์)
การพยาบาล
1. ประเมินความเจ็บปวดโดยการ สอบถาม สังเกตสีหน้า และประเมิน pain score
2. ดูแลการได้รับยาระงับปวดตาม แผนการรักษา ซึ่งจะเป็นยาฉีดกลุ่ม morphine, pethidineหรือยารับประทาน เช่น Tramal, Tylenol, Paracetamol เป็นต้น
จัดท่านอนไม่ให้เกิดการกดทับบน แผลไหม้ และมีการพลิกตัวผู้ป่วยอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
4. เบี่ยงเบนความสนใจ เพื่อลดความ กลัวความวิตกกังวล
การเคลื่อนย้าย การทำความสะอาด