Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ, อาศัยวิธีการทางสถิติ, สุ่มตัวอย่าง - Coggle…
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ
สาขาของสถิติ
สถิติเชิงพรรณนา
3.รวบรวมข้อมูล
ออกแบบวางแผน
4.วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณา
1.กำหนด
สรุปโดยใช้ สถิติเชิงอนุมาน
สถิติเชิงอนุมาน
ใช้ค่าสถิติไปสรุปค่าพารามิเตอร์
ประเภทของสถิติ
จำแนกตามบทบาทและหน้าที่
สถิติเชิงบรรยาย
แจกแจงความถี่
จัดตำแหน่งเปรียบเทียบ
วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
วัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
กระจายข้อมูล
สถิติอ้างอิง
จำแนกตามข้อตกลงลักษณะเบื้องต้น
สถิตินอนพาราเมตริก
สถิติพาราเมตริก
จำแนกตามตัวแปร
สถิติเอกนาม(Univariate Statistics) ตัวแปรเพียงตัวเดียว
สถิติทวินาม(Bivariate Statistics) ตัวแปร 2 ตัว
สถิติพหุคูณ(Multivariate Statistics) ตัวแปรมากกว่า 2 ตัว
ข้อมูล
นามบัญญัติ (์Nominal Scale)
เรียงลำดับ(Ordinal Scale)
ระดับช่วง หรืออันตรภาค(Interval Scale)
ระดับอัตราส่วน(Ratio Scale)
ชนิดข้อมูล
เชิงคุณภาพ
เชิงปริมาณ
สถิติเชิงพรรณนา
นำเสนอข้อมูล
ตาราง
แจกแจงความถี่
กราฟ แผนภูมิ
วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
วัดตำแหน่ง Q,D,P
วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ค่าเฉลี่ย/ฐานนิยม/มัธยฐาน
วัดการกระจาย
พิสัย
ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ Q.D
เบี่ยงเบนเฉลี่ย A.D
ส่วนเบี่ยงเบนมฐ. S.D/M.D.
ความเบ้/ความโด่ง
การกระจายความสัมพันธ์
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูล
ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ทดลอง
จำลอง
ชุดข้อมูล
ตัวอย่าง ค่าสถิติ
ประชากร ค่าพารามิเตอร์
ความหมาย สถิติ(Statistics) เป็นคำที่มาจากภาษาเยอรมันว่า “Statistik”ที่มีรากศัพท์ว่า “State”
ที่หมายถึง ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและข้อเท็จจริงที่มีประโยชน์ต่อการบริหารงานของรัฐ
อาศัยวิธีการทางสถิติ
สุ่มตัวอย่าง