Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม ( Pragmatism )…
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม ( Pragmatism ) เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม( Pragmatism )
ความหมาย
สิ่งใดที่เรียกว่าจริงได้ต้องเป็นสิ่งที่ช่วยให้มนุษย์บรรลุจุดมุ่งหมายของชีวิต
สิ่งนี้เรียกว่า “ประสบการณ์” (Experience)
ประสบการณ์นี้ถึงจะเป็นจริงแต่ก็เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ ไม่ตายตัว
ความเป็นมา
จัดเป็นปรัชญาของอเมริกา เพราะถือกำเนิดในอเมริกาปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19
พัฒนามาจาก ปรัชญาสัจนิยมเชิงธรรมชาติ ซึ่งเกิดขึ้นในอังกฤษ
เป็นปรัชญาร่วมสมัยเพราะพึ่งจะถือกำเนิดมาเมื่อไม่ถึง 100
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาปฏิบัตินิยม คือ เพอร์ซ และผู้ที่ทำให้ปรัชญานี้เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก คือ ดิวอี้
นักปรัชญา
ชาร์ลส์ แซนเดอรส์ เพิร์ซ
ผู้คิดสร้างทฤษฎีความสงสัยและความเชื่อ (The Doubt – Belief Theory)
ความสงสัยที่แท้จริงจะเกิดขึ้นเมื่อมีประสบการณ์บางอย่างเกิดขัดแย้งกับความเชื่อเดิม
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาปฏิบัตินิยม
วิลเลียมเจมส์
ยืนยันความคิดของเพิร์ซ ว่าถูกต้องและนำไปใช้ได้ผลจริง
เป็นนักปฏิบัตินิยมที่แท้จริง
เน้นประสิทธิภาพในทางปฏิบัติมากที่สุด
จอห์น ดิวอี้
ผู้ทดลองหาความคิดที่ดีทีสุดเพื่อปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
เชื่อว่าความอยู่รอดของสรรพสัตว์นั้น ขึ้นอยู่กับการปรับตัวของสิ่งนั้นๆ
องค์ประกอบ
ญาณวิทยา (ความรู้)
พิสูจน์ความจริง คือ การลงมือปฏิบัติ
ได้ผลลัพธ์ตามที่คาดหวังบนพื้นฐานการคิดวิเคราะห์
เป็นกระบวนการที่ไม่สิ้นสุด
คุณวิทยา (คุณค่า)
ด้านจริยศาสตร์ (ความดี) เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างและกำหนดขึ้นมาเองสามารถ เปลี่ยนแปลงได้
ด้านสุนทรียศาสตร์ (ความงาม) เป็นเรื่องของความต้องการและรสนิยมที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ
อภิปรัชญา (ความจริง)
ได้จากการปฎิบัติ
เปลี่ยนแปลงได้
การนำแนวคิดปรัชญาการศึกษาลัทธิปฏิบัตินิยมมาประยุกต์ใช้กับการศึกษา
แนวคิดด้านการเรียนการสอน
เด็กเป็นศูนย์กลาง ( Child Center )
เรียนโดยการแก้ปัญหา
การเรียนการสอนโดยการอภิปรายถกเถียง
การเรียนการสอนโดยผ่านทางกิจกรรม
แนวคิดด้านโรงเรียน
จะต้องส่งเสริมให้เด็กทำงานเป็นห้องเรียนและมีการทดลอง
จะต้องจัดสิ่งแวดล้อมที่ดี ๆ เพื่อให้เด็กเกิดความคุ้นเคยและได้รับประสบการณ์ที่ดี
จะต้องจัดห้องเรียนที่หลากหลาย ไม่ประจำที่เดิม ๆ
จะต้องมีการส่งเด็กออกไปฝึกงานตามสถานที่จริง เพื่อให้เด็กมีประสบการณ์ตรง
แนวคิดด้านหลักสูตร
บูรณาการทั้งเรื่องความรู้ เรื่องของชีวิต สังคม
เน้นความรู้ทางกายภาพที่สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตจริงได้
แนวคิดด้านผู้สอน
ต้องให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณาตัดสินใจเลือกวิธีที่จะเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
เชื่อว่าเด็กทุกคนโดยธรรมชาติแล้วมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เป็นเสมือนเพื่อนหรือหัวหน้ากลุ่มในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ พร้อมกับนักเรียน
จุดมุ่งหมาย
ช่วยเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ประสบการณ์ต่าง ๆ
สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และชีวิตที่เปลี่ยนแปลงได้
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม( Progessivism )กับการศึกษา
นักปรัชญา
มนุษย์มีเสรีภาพตามธรรมชาติโดยไม่จำกัด
ความคิดของรุสโซมีอิทธิพลต่อการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2332
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
โจฮันน์ ไฮน์ริค เปสตาลอสซี่ ( Johann Heinrich Pestalozzi )
มุ่งเน้นความคิดของการจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ
การจัดการศึกษาให้แก่เด็กควรรวมถึงการ พัฒนาร่างกาย สติปัญญา และจิตใจ
การศึกษาธรรมชาติถือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน
ฟรานซิส ดับเบิลยู ปาร์คเกอร์ (Francis W. Parker)
เสนอให้ปฏิรูประบบการศึกษาใหม่
ปัจจุบันปรัชญาพิพัฒนาการนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย ในนามว่า การศึกษาแผนใหม่
ชาร์ล ดาวิน ( Charles Dawin )
ความอยู่รอดของผู้ที่เหมาะสม
ผู้เขียนหนังสือ “ กำเนิดของสปีชีส์ ”
สิ่งมีชีวิตต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอด ผู้ที่ไม่เหมาะสมนั้นจะตายไป
จอห์น ดิวอี้ (John Dewey)
เด็กเรียนรู้ได้จากประสบการณ์ตรง
การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการกระทำ (Learning by doing)
เป็นผู้นำของแนวคิดการศึกษาแบบก้าวหน้า (Prograssive Education)
คำนึงถึงความสนใจและความสามารถของเด็ก
จุดมุงหมายทางการศึกษา
มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนตามความถนัด ความสนใจ และตามความสามารถของผู้เรียน
ส่งเสริมประชาธิปไตยทั้งในและนอกห้องเรียน
มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักปรับตัวเองเข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข
มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาไปพร้อม ๆ กัน
แนวคิดพื้นฐาน
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลสูงสุดในการกำหนดรูปแบบของวัฒนธรรมและสังคม
เชื่อว่ามนุษย์เป็นผู้กำหนดอนาคตโชคชะตาของตนเอง
มีแนวคิดเช่นเดียวกับปรัชญาปฏิบัตินิยม เชื่อว่าชีวิตเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้เสมอตามกาลเวลาและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบทางการศึกษา
กระบวนการเรียนการสอน
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (child-centered) โดยให้ผู้เรียนมีบทบาทมากที่สุด
การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ (learning by doing) คือการเรียนรู้ท่ามกลางการปฏิบัติ
การแก้ปัญหาแบบวิทยาศาสตร์ ( Problem solving)
ผู้สอน
เป็นผู้มีความรู้ มีความสามารถในการวางแผนและมีเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย
เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล มีความสามารถในการวิเคราะห์ผู้เรียน
แนะนำและให้คำปรึกษาเป็นหลัก
เป็นผู้กระตุ้น หนุน หนี
หลักสูตร
หลอมรวมเนื้อหาให้มีลักษณะเป็นหลักสูตรบูรณาการ
สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันหรือปัญหาอันเป็นความจำเป็นในสังคม
ผู้เรียน
ให้ความสำคัญแก่ผู้เรียนมาก
ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ด้วยการลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing)
ผู้เรียนจะต้องมีอิสระในการเลือกตัดสินใจและต้องทำงานร่วมกัน (Participation)
ผู้บริหาร
ผู้บริหารจะเป็นผู้ดำเนินงานไปตามข้อตกลงหรือมติของคณะกรรมการของสถาบัน
ผู้บริหารจะต้องเป็นนักประชาธิปไตยให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมในการบริหารงาน
การวัดและการประเมินผล
ด้านความรู้ = มุ่งวัดความเป็นเลิศทางวิชาการทางสมองควบคู่ไปกับทักษะการปฏิบัติ
ด้านความดี = เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในทุก ๆ ด้านให้รู้จักคิดเป็นทำเป็น แก้ปัญหาเป็น
โรงเรียน
ทำหน้าที่เป็นแบบจำลองสังคม
โรงเรียนจะต้องสร้างบรรยากาศที่เป็นประชาธิปไตยโดยให้ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้สิ่งแปลกๆ
ความเป็นมา
เกิดขึ้นโดยนักคิดกลุ่มเสรีนิยม ( Free School )
เพื่อต่อต้านแนวคิดดั้งเดิมเกี่ยวกับการศึกษา
เพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความหมาย
ก้าวหน้า เปลี่ยนแปลง ไปตามการเวลา บุคคลสามารถแสวงหาความรู้ได้จากประสบการณ์
ปรัชญานี้อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปรัชญาประสบการณ์นิยม ( Experimentalism
แนวความคิดทางการศึกษา
การศึกษาคือชีวิต มิใช่เป็นการเตรียมตัวเพื่อชีวิต
ตัวอย่างในการศึกษา
โรงเรียนวัดโพธิวงษ์
ด้านผู้สอน
จัดประสบการณ์ที่ดีและเหมาะสมให้แก่ผู้เรียน มีความรู้และประสบการณ์อย่างกว้างขวาง
การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความสามารถและความต้องการของผู้เรียน
ผู้สอนทำหน้าที่ในการแนะแนวทางให้แก่ผู้เรียน
ด้านผู้เรียน
ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ด้วยการลงมือกระทำด้วยตนเอง ( Learning by doing )
การเรียนการสอนตรงกับความถนัดความสนใจและความสามารถของผู้เรียน
เด็กเป็นศูนย์กลาง ( Child Center )
ด้านการจัดการเรียนการสอน
เด็กเป็นศูนย์กลาง ( Child Center ) ของการเรียนการสอน
การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ ( learning by doing )
ด้านผู้บริหาร
ผู้บริหารจะต้องเป็นนักประชาธิปไตยให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมในการบริหารงาน
ผู้บริหารจะเป็นผู้ดำเนินงานไปตามข้อตกลงหรือมติของคณะกรรมการของโรงเรียน ”
หลักสูตร
โรงเรียนวัดโพธิวงษ์ ได้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียน เกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ
ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551 มุ่งพัฒนาผู้เียนให้มนุษย์ ที่สมบูนณ์ มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สัง และสติปัญญา
ด้านการประเมินผล
ด้านความรู้ มุ่งวัดความเป็นเลิศทางวิชาการทางสมองควบคู่ไปกับทักษะการปฏิบัติ
ด้านความดี เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในทุก ๆ ด้านให้รู้จักคิดเป็นทำเป็น แก้ปัญหาเป็น
ด้านโรงเรียน
เป็นแบบจำลองที่ดีงามของชีวิตและประสบการณ์ในสังคม
จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
5.วิเคราะห์ พระราชบัญญัติการศึกษา
องค์ประกอบของการศึกษา
ผู้สอน
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้เรียน
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และ
ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา 22 (3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็นทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
กระบวนการเรียนการสอน
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็นทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
ผู้บริหาร
มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้
(1) มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
(6) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กร เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
(2) มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หลักสูตร
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
การวัดประเมินผล
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
จุดมุ่งหมาย พรบ 42
มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนักที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
นางสาวจุฬาลักษณ์ อักษร