Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Asthmatic attack images (3), นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด เลขที่ 81,…
Acute Asthmatic attack
ความหมาย
โรคหอบหืดหรือโรคหืด (Asthma) คือ การหดเกร็งตวของกล้ามเนื้อหลอดลมอย่างรุนแรง เป็นความผิดปกตของระบบทางเดินหายใจเกิดจากการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม เป็นผลให้มี cell ต่าง ๆ เช่นmast cell, Eosinophils, Neutrophil, T-lymphocyte, Macrophageมาสะสมที่เชื่อบุผนังหลอดล่ม ทำให้เชื่อบุภายในหลอดลมเกิดการหนาตัว บวมขึ้น มีเสมหะที่เหนี่ยวออกมามากอุดตันในหลอดลม หลอดลมตีบส่งผลให้การไหลเวียนของอากาศในหลอดลมลดลง ผู้ป่วยจะหอบเหนื่อยเวลาหายใจ แน่นหน้าอก หายใจลำบากโดยเฉพาะการหายใจออก เมื่ออาการหนักขึ้นเวลาหายใจจะมีเสียงดังวี้ด ๆ เมื่อเป็นมากขึ้นจะเหนื่อยจนไม่สามารถหายใจเข้า-ออก ทำให้ถึงขั้นเสียชีวิตอย่างเฉียบพลันได้
ความหมายของโรคหืดกำเริบเฉียบพลัน
โรคหืดกำเริบเฉียบพลัน คือ ภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบเฉียบพลันในทางที่แย่ลงของอาการหืด โดยจะเกิดการหดเกร็งของหลอดลม หลอดเลือดขยายตัว มีการรั่วซึมของของเหลวจากหลอดเลือดเข้าท่อทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการบวมของเยื่อบุหลอดลม มีการสร้างสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้น และเพิ่มความไว้เกินของหลอดลมผลที่ตามมาคือมีการเพิ่มแรงต้านทานของทางเดินหายใจ เกิดการอุดกั้น
ของทางเดินหายใจอย่างเฉียบพลัน ทำให้มีการผันผวนของลมทั่วทั้งปอด และมีลมค้างในปอดทำให้ต้องใช้แรงในการหายใจเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการต่างๆ ได้แก่ ไอ หายใจหอบ หายใจมีเสียงหวีด แน่นหน้าอก
-
พยาธิสภาพ
สารตัวกลาง(mediator) และเนื้อเยื่อบุผิวทางเดินหายใจก่อให้เกิดการอักเสบของหลอดลมหลังจากได้รับสารก่อภูมิแพ้หรือสารระคายเคือง
โดยสารก่อภูมิแพ้หรือสารระคายเคืองจะกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์หลั่งสารอิมมูโนโกลบูลินอี(IgE)
-
การพยาบาล
- ประเมินความรุนแรงของผู้ป่วยขณะมีอาการจับหือเฉียบพลันให้ถูกต้อง รวดเร็ว โดยพิจารณาจากอาการ อาการแสดง และจากการตรวจวัดสมรรถภาพปอดในกรณีที่ทำได้
- ให้การรักษาทางยาเป็นการรักษาที่ใช้ยระงับอาการหอบหืดเมื่อมีอาการเกิดขึ้น หรือการใช้ยาป้องกันก่อนที่จะมีอาการเกิดขึ้น ขาที่ใช้โดยทั่วไปเป็นยาขยายหลอดลมชนิดต่าง ๆ และยาป้องกันการหลั่ง alergic mediator แบ่งออกเป็น
2.1 ขาที่ใช้รักษาขณะจับหืดเฉียบพลัน
2.2 ขาที่ควบคุมไม่ให้เกิดอาการกำเริบ
- การรักษาที่จะให้ใด้ผลดีและเร็ว คือ การให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยหรือญาติให้ทราบถึงอาการและอาการแสคงของภาวะจับหึดเฉียบพลันและวิธีปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะดังกล่าวเพื่อควบคุม
ให้เกิดอาการกำเริบน้อยที่สุด หรือไม่ให้เกิดอาการกำเริบเลย
- หลีกเสี่ยงสารก่อภูมิแพ้ เนื่องจากโรคหอบที่ด จะมีอาการหลังจากได้รับสารก่อภูมิแพ้ ซึ่งแต่ละคนแพ้สารเหล่านี้แตกต่างกันออกไป แต่ที่พบบ่อยได้แก่ ไรฝุ่น ละอองเกสรดอกไม้ สปอร์ของเชื้อรา ขนสัตว์ และควันบุหรี่ นอกจากนี้ ขังควรพลีกเสี่ยงสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง เช่น อากาศหนาวจัด ความชื้นสูง หรือความกดอากาศสูง หลีกเสี่ยงการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ ในผู้ป่วยบางคน มีการแพ้อาหารบางชนิด เช่น อาหารทะเล เป็นต้น ดังนั้นจึงควรมีวิธีการดูแลสิ่งแวคล้อมและที่พักอาศัย เพื่อลคสารก่อภูมิแพ้ต่าง ๆ
- มีการประเมินติดตามอาการหลังการให้การรักษาเป็นระยะ ๆ
สาเหตุ
- ปัจจัยภาขในตัวเอง ได้แก่ ประวัติผู้ป่วยเป็นโรคภูมิแพ้ ปัจชัยทางกรรมพันธุ์เป็นโรคหืด หรือภูมิแพ้อื่น ๆ ซึ่งโรคนี้สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ในกรณีพ่อแม่ไม่เป็นโรคหอบหืคแต่ลูกจะมีโอกาส
เป็นโรคหืดถึง 6% ถ้าพ่อหรือแม่คนใดเป็นโรคที่ลูกเกิดมาจะมีโอกาสเป็นโรคหืค 20% และถ้าทั้งพ่อและแม่เป็น โรคหืด ลูกเกิดมาจะมี โอกาสเป็นโรคหืคถึง60% และปัจชัยทางด้านเพศโดยในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ขวบเด็กชายจะเป็นโรคหอบหืคมากกว่าในเด็กผู้หญิง
- ปัจจัยภายนอก ได้แก่ การได้รับสารที่ก่อภูมิแพ้ เช่นไรฝุ่น เศบโปรตีนจากสัตว์เลี้ยง แมลงสาบ สปอร์ของเชื้อรา ละอองเกสรต่าง ๆ และควันบุหรี่ ทั้งที่ผู้ป่วยสูบเอง หรือได้รับจากคนข้างเคียง มลพิษ เช่น ก๊าซพิษต่าง ๆ ฝุ่นแป้ง ฝุ่นจากการ
การวินิจฉัย
โรคหอบหืดในเด็กทั่วไปจะมาจากโรคประจำตัว แต่อาจจะมีตัวเร่ง การแพ้ เช่นอาหารทะเล ขนแมว เป็นต้น ทำให้เกิดอาการหอบหืดแบบเฉียบพลัน
- การซักประวัติ
1.1 ผู้ป่วยโรคหืดมักมีประวัติ ไอ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด และหอบเหนื่อยเป็นๆหายๆ
1.2 ผู้ป่วยโรคหอบหืดมักมีอาการเกิดขึ้นทันทีเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น และอาการดังกล่าวอาจหายไปเอง หรือหายไปเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
1.3 ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาหรือควบคุมอาการได้ไม่ดี จะมีอาการหอบหืดเกิดขึ้นในเวลากลางคืนที่เรียกวา ่ nocturnal asthma
1.4 ประวัติสัมผัสสิ่งกระตุ้น อาทิ สารภูมิแพ้ การติดเชื้อไวรัสความเครียด ควันพิษและมลพิษอื่นๆ
2 . ต้องวินิจฉัยแยกโรคอื่นๆที่มีอาการคล้ายคลึงกน อาทิ
• หลอดลมอุดก้นเรื้อรัง ( COPD )
• หัวใจวาย
• สําลักสิ่งแปลกปลอม ( Foreign body)
• Gastro-esophageal reflux
• Bronchopulmonary dysplasia
• Bronchiectasis
- การตรวจร่างกาย การตรวจทางระบบการหายใจ จะพบวามีอัตราการหายใจ เพิ่มขึ้น และได้ยินเสียงwheeze หรือ rhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวัดการอุดก้นของทางเดินการหายใจด้วย spirometry
-
-
-