Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ, image,…
บทที่ 3 การประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
การตั้งครรภ์ปกติ (ประมาณ 280 วันหรือ 40 สัปดาห์)
second trimester เดือนที่ 4 - 6 (13-28 สัปดาห์)
third trimester เดือนที่ 7 ถึงครบกำหนดคลอด (29-42 สัปดาห์)
first trimester เดือนที่ 1- 3 (1-12 สัปดาห์)
Antenatal care : ANC
ตรวจวินิจฉัยหาความผิดปกติของร่างกายและจิตใจให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นหรือที่เกิดขึ้นแล้วระหว่าการตั้งครรภ์ส่งต่อให้แพทย์
เตรียมร่างกายและจิตใจของมารดาและบิดาเพื่อจะเป็นมารดาและบิดาในอนาคตข้างหน้าเพื่อครอบครัวที่สมบูรณ์
ยืนยันว่ามีการตั้งครรภ์จริงและเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นกับทารกพร้อมทั้งวางแผนการคลอด
เตรียมการคลอดและการแสดงบทบาทเป็นมารดาหลังคลอด
การประเมินภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
การซักประวัติ เพื่อยืนยันการตั้งครรภ์และตรวจวินิจฉัยปัญหาและวางแผนการดูแลรักษาได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
ประวัติการคุ้มกำเนิด
ระยะเวลาที่คุ้มกำเนิด
ระยะเวลาที่หยุดคุ้มกำเนิดครั้งสุดท้ายก่อนการตั้งครรภ์
วิธีการคุ้มกำเนิด
ประวัติส่วนตัว
อายุ สถานภาพ เชื้อชาติ
เจตคติของการตั้งครรภ์เป็นอย่างไร และมีความเชื่ออะไรบ้างเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
การใช้ยาและสารเสพติดต่างๆ รวมทั้งสถานที่ทำงานมีสารเคมีที่อาจจะได้รับหรือไม่
ระดับการศึกษา
ฐานะทางเศรษฐกิจและรายได้
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ
อุบัติเหตุหรือโรคที่เกี่ยวกับกระดูกอุ้งเชิงกราน
ประวัติการดิ้นของทารกในครรภ์ (Quickening)
ซักถามวันแรกที่รู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ครรภ์หลัง ประมาณ 16 - 18 สัปดาห์
ครรภ์แรก ประมาณ 18 - 20 สัปดาห์
ประวัติความผิดปกติของครรภ์ระหว่างการตั้งครรภ์
เลือดออกทางช่องคลอด
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน จุดเสียดยอดอก บวม
การขับถ่ายปัสสาวะปกติหรือแสบขัด กะปริบกะปรอย
ตกขาว
ประวัติครอบครัว
โรคทางพันธุกรรมและโรคติดต่ออาจจะเกิดอาการขึ้นได้้ระหว่างการตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง
ภาวะโลหิตจางจากธาลัสซิเมีย
เบาหวาน
วัณโรค
โรคจิต
ประวัติการตั้งครรภ์แฝดในครอบครัว
ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีตและการคลอดของครรภ์ที่ผ่านมา
คลอดเมื่อใด อายุครรภ์เมื่อคลอด วิธีการคลอด ความผิดปกติในทุกระยะที่เกิดขึ้นในครรภ์ที่ผ่านมา ลักษณะของทารกเมื่อคลอดและสุขภาพในปัจจุบันเพื่อเป็นข้อมูลในการเฝ้าระวัง
การแท้ง
ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
บันทึกผลการซักประวัติการตั้งครรภ์ ระบบGPPAL
L (Living) จำนวนบุตรที่มีชีวิตอยู่
A (Abortion) จำนวนครั้งของการแท้ง
P (Premature labour) จำนวนครั้งของการคลอดก่อนกำหนด
P (Para) จำนวนครั้งของการคลอดครบกำหนด
G (gravida) จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
Last Menstrual Period (LMP) ใช้ในการคาดคะเนอายุครรภ์และวันกำหนดคลออด
ประการมีประจำเดือน เริ่มมีเมื่อไหร่ มาสม่ำเสมอหรือไม่ รอบของการมีประจำเดือน จำนวนวันในแต่ละรอบ
การตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป
ความดันโลหิต
การตรวจเต้านม
ดูลักษณะหัวนม เต้านม รูปร่าง คลำดูต่อมน้ำนมว่ามีความผิดปกติหรือไม่
Waller's Test ตรวจดูการดูดตามธรรมชาติของทารก
Hoffman's Maneuver การแก้ไข้หัวนมที่สั้นและบุ๋ม
หัวนม พร้อมที่จะให้ทารกดูดหรือไม่ มีการแตกไหม แบบหรือบุ๋มลงไปไหม
Pinch Test บีบหัวนมให้หัวนมโผล่ออกมา
Nipple puller การแก้ไขหัวนมบอด
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์และน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์
ตรวจภายใน
ส่วนสูง ควรสูง150 ซม.ขึ้นไป
ตรวจร่างกายทุกระบบ
การตรวจครรภ์
การคงชีวิตอยู่
แนว ท่า และส่วนนำของทารก
Lie ดูลักษณธลำตัวของทารก
transverse Lie แกนตัวของทารกขวางกับแนวลำตัวของมารดา
oblique Lie แกนตัวของทารกอยู่เฉีงกับแนวลำตัวของมารดา
longitudinal Lie แกนตัวของทารกยาวขนานกับแนวลำตัวของมารดา
Presentation
แนวขวาง
shoulder presentation
แนวยาว
cephalic presentation ก้อน กลม แข็ง
presentation นุ่ม
Breech presentation
Complete Breech
Complete Breech ก้มหน้าชิดอก กอดอกขาอยู่ในท่าขัดสมาธิ
Incomplete Breech
Footling Breech หน้าตรง กอดอก งอขาหนึ่งข้างข้างหนึ่งเหยียดยาว
Frank Breech ก้มหน้า กอดอก ขาขอยาวเหยียดขึ้นไปทางศีรษะ
Cephalic presentation
Face presentation
Brow presentation
Bregma presentation
Vertex presentation
Attitude
Slight degree of deflexion ศีรษะตั้งตรง
Moderate degree of deflexion ศีรษะเงย หน้าอกแอ่น
Marked degree of deflexion แหงนจนท่ายทอยชิดหลัง หน้าอกแอ่นเต็มที่
Flexion ท่าปกติ ก้มหน้านคางชิดอก
Position
ลักษณะของทารกในครรภ์ ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนส่วนนำของทารกกับส่วนของเชิงกรานผู้คลลอด(มารดา)
จำนวนทารกในครรภ์
คาดคะเนอายุครรภ์
วิธีการตรวจครรภ์
ดู
ขนาดท้อง ลักษณะ รูปร่าง การเคลื่อนไหว
คลำ
Leopold maneuver
First maneuver (Fundal grip) การคลำาบริเวณยอดมดลูกเพื่อตรวจหาระดับมดลูกและส่วนของทารกซึ่งอยู่ที่ยอดมดลูก
ดูขนาดยยอดมดลูกตามสัดส่วนหน้าท้อง
คำนวณจากการวัดยอดมดลูกด้วยสายวัด
Second maneuver (Umbillical grip) ตรวจหาส่วนที่กว้างของทารก
แผ่นหลัง (large parts)
แขน ขา ข้อศอก หัวเข่า (small parts)
Third maneuver (Pawlik's grip) ตรวจหาส่วนนำว่าเป็นศีรษะหรือก้น
Fourth maneuver (Bilateral inguinal grip) ตรวจหาส่วนนำว่าเป็นศีรษะหรือก้นและตรวจดูว่ามี engagement หรือไม่ ใช้ฝ่ามือเคลื่อนไปตามส่วนนำไปหารอยต่อของกระดูกหัวเหน่า
ฟัง
ฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ Fetal shocking sound
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC , VDRL ตั้งแต่ครั้งแรกที่ตรวจครรภ์และตรวจซ้ำในสัปดาห์ที่ 28-32
กรุ๊ปเลือดและ HIV
UA ตรวจหา Albumin , Sugar ทุกครั้งที่ฝากครรภ์เพื่อเฝ้าระวังเบาหวาน
การนัดตรวจติดตามการดำเนินการของครรภ์
ครั้งที่ 3 ประมาณ 24-28 สัปดาห์ (26)
ครั้งที่ 4 ประมาณ 30-34 สัปดาห์ (32)
ครั้งที่ 2 ประมาณ 16-20 สัปดาห์ (18)
ครั้งที่ 5 ประมาณ 36-40 สัปดาห์ (38)
ครั้งที่ 1 ประมาณ 12 สัปดาห์
การประเมินภาวะจิตสังคม
ไตรมาสแรก รู้สึกสองฝักสองงฝ่าย ไม่มั่นใจว่าท้อง? ตกใจ ตื่นเต้น
ไตรมาสสอง เตรียมรับบทบาทของการเป็นมารดา จากการดิ้นของทารกทำให้เริ่มรับรู้ว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคล
ไตรมาสสาม รู้สึกกังวลและกลัวเกี่ยวกับกาคลอดมากขึ้น
การคาดคะเนอายุครรภ์ GAและกำหนดคลอด
LMP
EDC นับจาก LMP ย้อนหลัง 3เดือน บวกวันที่ประจำเดือนวันแรกครั้งสุดท้ายด้วย 7 วัน
GA นับวันที่เหลือของเดือนที่มีประจำเดือนวันแรก นับต่อๆมาจนถึงวันที่มา ANC รวมกันแล้วหาร 7
Quickening
EDC นับจากวัน Quickening
ครรภ์แรก บวกเพิ่ม 20-22 wks ลบออกด้วย 40 wks
ครรภ์หลัง บวกเพิ่ม 22-24 wks ลบออกด้วย 40 wks
GA นับจำนวนวันจาก Quickening ถึงวันที่ต้องการคำนวณแล้วหาร 7
ครรภ์แรก บวกด้วย GA 18-20 wks
ครรภ์หลัง บวกด้วย GA 16-18 wks
Fundal height
McDonald's rule
EDC นับจำนวนวันต่อจากวันที่ตรวจจนครบ 40 wks
GA ความสูงของยอดมดลูก (ซม.) * 8/7
การวัดระดับยอดมดลูกด้วยสัดส่วนตำรา Williams obstetrics โดยการแบ่งระยะจากสะดือถึงรอยต่อกระดูกหัวเหน่าเป็น 3 ส่วนและจากสะดือถึงกระดูกลิ้นปี่ 4 ส่วน
7 เดือน (28week) 2/4 เหนือระดับสะดือ
8 เดือน (32week) 3/4 เหนือระดับสะดือ
6 เดือน (24week) 1/4 เหนือระดับสะดือ
9 เดือน (36week) 4/4 ที่ลิ้นปี่
5 เดือน (20week) 3/3 ตรงระดับสะดือ
10 เดือน (40week) 3/4 เหนือระดับสะดือและท้องลดลงแล้ว
4 เดือน (16week) 2/3 ต่ำกว่าระดับสะดือ
3 เดือน (12week) 1/3 ต่ำกว่าระดับสะดือ
Ultrasonogram วิธีนี้ค่อนข้างแม่นยำ
ยืนยัน GA เมื่อครรภ์ประมาณ 16-20 wks ตรวจซ้้ำอีกครั้งเมื่ออายุครรภ์ 32-34 wks เพื่อประเมินการเจริญเติบโตของท่ารกและดูท่าของทารก และคำนวณจากสัดส่วนที่วัดได้เตรียมเทียบกัน
การประเมินคัดกรองภาวะเสี่ยงและการส่งต่อเพื่อค้นหาภาวะแรกซ้อนที่เกิดขึ้นและส่งต่อรักษาได้ทันท่วงที
GA ก่อน 28 wks นัดตรวจทุก 4 wks
GA ตั้งแต่ 36 wksขึ้นไป นัดตรวจทุก 1 wks
GA ระหว่าง 28-36 wks นัดตรวจทุก 2 wks
นางสาวนรีกานต์ ขยายแย้ม เลขที่ 53
รหัสนักศึกษา 62114301054