Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หอบหืดในหญิงตั้งครรภ - Coggle Diagram
หอบหืดในหญิงตั้งครรภ
การวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย จะได้ยินเสียง wheezing หรือ rhonchi ที่ปอดทั้ง2ข้าง ตรวจครรภ์อาจพบความสูงของยอดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
-
1.จากการซักประวัติอาการและอาการแสดง และสิ่งกระตุ้นใหเกิดอาการ เช่นมีอาการไอเรื้อรัง โดยเฉพาะ
ไอหลังเป็นไข้หวัด ประวัติโรคภูมิแพ ประวัติการเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัวที่เป็นโรคหอบหืด
การพยาบาล
-ในการมารับบริการตรวจครรภของสตรีมีครรภทุกครั้ง ให้ประเมินสภาวะความแข็งแรงของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
-
-
-
-
-
-
-ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา และในขณะให้ยาต้องสังเกตอาการ เช่น BPลดลงอยางรวดเร็ว ปวดศีรษะ ใจสั่น ให้หยุดยาและรีบรายแพทย์ทันที
-ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ เยื่อบุตาและผิวหนังวามีสีเขียวหรือไม่ แสดงถึงภาวการณ์ขาดออกซิเจนในสวนปลาย
-
-
-ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ในน้ำนมมารดามี IgA สูง จะชวยลดโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคภูมิแพ้ที่เกิดจากมารดาเป็นโรคหอบหืดได้ร้อยละ 10
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ด้านมารดา เช่น ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์(preeclampsia) ตกเลือด มารดาเสี่ยงต่อการ
เสียชีวิตจากการจับหืด (asthmatic attack)
ด้านทารก เช่น คลอดก่อนกกำหนด คลอดน้ำหนักตัวนอย (low birth weight) ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ตายปริกำเนิดทารกพิการแต่กำเนิด พร่องออกซิเจน มีโอกาสเป็นโรคหอบหืดได้รอยละ 50จากการถายถอดทางพันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
หอบหืดในหญิงส่วนใหญ่เกิดในช่วง 24 -36 สัปดาห์ และ 10% จะเกิดในช่วงระหว่างการเจ็บครรภ์คลอดโดยส่วใหญ่หญิงตั้งครรภ์จะมีอาการไอเรื้อรัง (มากกว่า 8 สัปดาห์) หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอก หายใจมีเสียงwheezing การหายใจออกลำบากกว่าการหายใจเข้าใช้กล้ามเนื้อที่คอและไหล่ในการช่วยหายใจ หายใจเร็วมากกว่า 35 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาที เหงื่อออกมาก
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ในช่วงแรกของการตั้งครรภ์ เมื่อน้ำาหนักตัว ปริมาณน้ำในรางกาย ปริมาณของเลือด เกลือโซเดียมในร่างกายเพิ่มขึ้นส่งผลให้หัวใจทำงานมากขึ้น จะพบอาการหายใจลําบากได้โดยเฉพาะเวลานอน ช่วงท้ายของการตั้งครรภ์จะพบว่ามีปริมาตรของอากาศที่เหลือค้างในปอดจากการหายใจออกตามปกติทำให้เนื้อที่ในปอดบางส่วนไม่สามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้สมบูรณ์ ซึงจะทำให้อาการของโรคหอบหืดเป็นมากขึ้น